Page 64 - รายงานประจำปี 2561
P. 64

ผลสัมฤทธิ์ที่สําคัญ
 ตามความต้องการของ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ท้ังในเชิง ปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งเพื่อแก้ปัญหาสถานประกอบการ ขาดแคลนบุคลากรและลดปัญหาการว่างงานที่เกิดจาก การผลิตบุคลากรไม่ตรงตามความต้องการ และเพื่อเพิ่มทักษะ บุคลากรในระบบการจ้างงานให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีท่ีก้าวกระโดด
จากความร่วมมือดังกล่าว กองประสานและพัฒนาปัจจัย การลงทุนจึงได้ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการประสาน ความรว่ มมอื ระหวา่ งสถาบนั การศกึ ษาและผปู้ ระกอบการทไี่ ดร้ บั การส่งเสริมการลงทุน เพื่อหาแนวทางพัฒนาหลักสูตรการศึกษา เชิงบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและผู้ประกอบการ ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยเชิญผู้แทน จากผู้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา (สอศ.) และสานักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ร่วมหารือกัน อย่างสม่าเสมอ
2.4 การประสานความร่วมมือกับกระทรวงแรงงานเก่ียวกับ การอนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในโครงการท่ีได้รับ การส่งเสริมการลงทุน เพ่ือเป็นการบรรเทาการขาดแคลนแรงงานในระดับปฏิบัติการ และการควบคุมการเข้ามาทางานของแรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ ในโครงการท่ีได้รับการส่งเสริมการลงทุน และเพ่ือให้สอดคล้อง กับสถานการณ์การใช้แรงงานในปัจจุบันของประเทศ สานักงาน จึงได้มีการประสานความร่วมมือกับกระทรวงแรงงานเก่ียวกับ การอนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในโครงการท่ีได้รับ การส่งเสริมการลงทุน โดยสานักงานได้มีประกาศ ป. 11/2561 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2561 อนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ ในโครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน รายละเอียดดังน้ี
1. อนุญาตให้โครงการท่ีได้รับการส่งเสริมการลงทุนสามารถ ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือที่ถูกต้องตามกฎหมาย ท้ังน้ี ไม่จาเป็นต้องเป็นแรงงานที่เข้ามาในประเทศไทยภายใต้
2.
บันทึกความตกลงหรือบันทึกความเข้าใจท่ีรัฐบาลไทย ทากับรัฐบาลต่างประเทศว่าด้วยความร่วมมือการจ้างงาน (Memorandum of Understanding: MOU) เท่านั้น
การใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในโครงการท่ีได้รับการส่งเสริม การลงทนุ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและระเบยี บทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในด้านต่างๆ ของหน่วยงานรัฐ ที่เก่ียวข้อง
2.5 การสนับสนุนให้ภาคเอกชนสามารถเข้าถึงบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานได้มุ่งเน้นการกระตุ้นและชักจูงให้เกิดการลงทุน ในกิจการฐานความรู้ ซึ่งจะเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือน นโยบาย “ประเทศไทย 4.0” อย่างไรก็ตามการลงทุนในกิจการ ฐานความรู้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงอุตสาหกรรม S-Curve 10 ประเภท ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเป้าหมาย จาเป็นต้องมีบุคลากร คุณภาพสูงรองรับ
ดงั นน้ั เพอ่ื ใหภ้ าคเอกชนสามารถเขา้ ถงึ บคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการขับเคล่ือน บคุ ลากรดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาทอ่ี ยใู่ นภาครฐั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาขดี ความสามารถดา้ นเทคโนโลยขี องผปู้ ระกอบการไทย มากขึ้น สานักงานจึงได้จัดตั้งศูนย์บุคลากรทักษะสูง (Strategic Talent Center - STC) ซึ่งได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 และได้รับความร่วมมือจาก หนว่ ยงานเครอื ขา่ ย ไดแ้ ก่ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
ศูนย์ STC ให้บริการท้ังบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและ ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน เพื่อสนับสนุนบุคลากรทักษะสูง ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนา โดยมีบริการดังน้ี
 62
รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน






















































































   62   63   64   65   66