Page 24 - BOI eJournal No 5 | Jul - Aug 2020
P. 24

  การไปซ้าเติมกัน ทุกคนก็บอบช้าพออยู่แล้ว เราจะ เอาตัวรอดคนเดียวไม่ได้ เราจะบอกเซลล์ของบริษัท ให้คอยดูลูกค้าว่าต้องการสินค้าอะไร ต้องการ ผลิตภัณฑ์แบบไหนที่บริษัทเราจะไปต่อยอดให้เขา ได้บ้าง ถ้าลูกค้ารายใดได้รับผลกระทบ ช่วงนี้อาจจะ พัฒนาสินค้าไปก่อนเมื่อเขาเปิดมาจะได้มีสินค้าใหม่ๆ เราก็ต้องพร้อมรองรับเขา” คุณสมเจตน์กล่าว
คุณสมเจตน์เทียบกับเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่ปี 2554 ว่าเม่ือปี 2554 บริษัทไม่ได้รับผลกระทบ เพราะ โรงงานไม่ถูกน้าท่วม สามารถผลิตสินค้าจาหน่าย ได้ต่อเนื่อง มีความยากลาบากเพียงเรื่องการขนส่ง ที่ต้องใช้รถสิบล้อเพื่อวิ่งหาวัตถุดิบ ทาให้ต้นทุนสูงข้ึน แต่ก็ยังสามารถจาหน่ายสินค้าได้มาก ส่วนสถานการณ์ การระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้การเดินทางทาไม่ได้ แต่ด้วยการขยายช่องทางการจัดจาหน่ายที่ทามาตลอด ทาให้บริษัทสามารถเติมเต็มยอดขายทดแทนได้
แนะ SMEs ปรับตัวท้ังองค์กร
ในฐานะผู้ประกอบการ SMEs ที่ประกอบธุรกิจมา 18 ปี คุณสมเจตน์ให้คาแนะนากับผู้ประกอบการต่างๆ ว่าต้องปรับตัวทั้งองค์กรโดยยกตัวอย่างบริษัทโฟร์ฟูดส์ จากัด ว่าไม่เพียงแค่ต้องขายสินค้าทางออนไลน์ มากข้ึน ทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นฝ่ายจัดซื้อที่ต้องเสาะหา วัตถุดิบรองรับสถานการณ์ต่างๆ ฝ่ายขายที่ลูกค้าบาง กลมุ่ หายไปจะตอ้ งไปหาลกู คา้ เขา้ มาเตมิ หรอื จะทา หนา้ ท่ี ช่วยเหลือลูกค้าที่มีอยู่ได้อย่างไร ฝ่ายวิจัยพัฒนาก็ต้อง พัฒนาสินค้าใหม่ๆ ให้กับลูกค้า รวมถึงฝ่ายโรงงาน ที่เป็นส่วนการผลิต ก็ต้องพัฒนาให้ความรู้และอุปกรณ์ ป้องกันไวรัสโควิด-19 แก่พนักงาน
คุณสมเจตน์ให้ความเห็นว่า “ทุกธุรกิจต้องมีทางออก เพียงแต่เขาอาจจะต้องลองถอยหลังสักก้าว ลองมา คิดดูว่าเขามีจุดเด่นและจุดแข็งคืออะไร และจะทาอะไร ในจุดแข็งของเขาได้บ้าง อย่างธุรกิจทางด้านเสื้อผ้า หลายบริษัทก็จะเห็นว่าตอนนี้ทาเสื้อผ้าออกมาก็จะ ขายได้ยาก แต่เครื่องจักรมี จะเย็บหน้ากากขายหรือไม่ ดีไซน์ให้สวยๆ ดึงดูดให้คนมาซื้อดีหรือไม่ มีผ้าแบบนี้ มีจักรแบบนี้ มีแรงงาน อาจจะต้องดีไซน์ใหม่ หรือ คิดค้นหน้ากากอนามัยรุ่นใหม่ๆ ที่ดูแล้วทันสมัย ไม่เชย เขาก็ต้องถอยมาดูจุดแข็งของตัวเอง แล้วค่อยๆ ปรับไป”
  24 | BOI e-Journal





























































































   22   23   24   25   26