Page 18 - BOI eJournal No 5 | Jul - Aug 2020
P. 18

 ด้านไหน เราก็ศึกษาสมุนไพรไทยว่ามีตัวไหนที่ออกฤทธิ์ ด้านไหน เพื่อคัดสรรมา แล้วดูว่าการเข้าตารับทาอย่างไร การออกฤทธิ์จะเพ่ิมพูน ไม่ด้อยลง หรือเป็นพิษ ซึ่ง สามารถนาข้อมูลงานวิจัยระดับโลกท่ีมีผู้วิจัยไว้แล้ว มาศึกษาผนวกกับการวิจัยและพัฒนาของเรา เพ่ือศึกษา การทางานของตารับยาต่อไป ผมคิดว่าความสาเร็จวันน้ี มาจากองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ 1) ความรู้แพทย์แผน ไทย 2) ความเข้าใจทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ 3) การบูรณาการความรู้งานวิจัยทั่วโลก เพื่อ ใช้ในงานของเรา”
คุณชัยพงษ์ย้าว่า การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) มีส่วนสาคัญ เพราะจะช่วยร่นระยะเวลา ในการศึกษาวิจัยของทีมงาน ด้วยการศึกษางานวิจัย ที่เคยมีผู้ทามาก่อนแล้วในสมุนไพรชนิดต่างๆ จนได้ สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตรงกับท่ีต้องการ แต่ความยาก ของการทาตารับยาคือ การนาสมุนไพรมารวมกัน เพ่ือให้สามารถออกฤทธิ์ได้ตามที่ต้องการ ซ่ึงต้องใช้ ภูมิปัญญาไทยที่มีอยู่แล้วมาช่วยในเร่ืองนี้
ดังนั้นการทดสอบและกาหนดสูตรตารับจึงเป็นงาน ที่ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก “ถ้าพูดทางวิทยาศาสตร์คือ เม่ือเอาไปรวมกันแล้ว มาทดสอบสารออกฤทธิ์ข้างในว่า ออกฤทธิ์ด้านน้ีไหม จะเห็นผลออกมาเลยว่า ดีข้ึนหรือ แย่ลง สิ่งที่ดีข้ึนก็จะบอกให้เราเห็นว่าดีขึ้น ปริมาณท่ีใช้ ต้องเป็นอย่างไร เราก็จะเห็นเลยว่าอัตราความสามารถ เพ่ิมขึ้นหรือลดลง ถ้าเพิ่มขึ้นดูแล้วแนวทางใช้ได้ สมมุติว่าสูตรนี้ดีแล้ว เราก็ไปทดสอบความเป็นพิษ ว่าเป็นพิษหรือไม่”
การทางานของบริษัท จึงเป็นการผสมผสานระหว่าง ภมู ปิ ญั ญาแพทยพ์ น้ื บา้ นของไทยและการนา กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์มาร่วมกัน “เรามีทีมแพทย์แผนไทย พ้ืนบ้านโบราณ พวกเขารู้จริงว่าสมุนไพรที่ใช้กัน ในอดีตใช้ทาอะไร แต่เขาไม่มีวิทยาศาสตร์เราก็เสริม วิทยาศาสตร์และข้อมูลที่มีอยู่แล้วทั่วโลก แล้วผม ก็สามารถมอนิเตอร์ได้แล้วว่าจะเจอทิศทางไหน เราเห็น ข้อมูลแล้วว่าเป็นแบบนี้ ไม่ต่างกับ Big Data เพราะ เราได้รวบรวมข้อมูลท้ังการแพทย์แผนไทย วิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทั้งหลายมารวมกัน แล้วทาสิ่งที่คิดว่า จะต่อยอดไปปลายทางได้ ถึงจะมีโอกาสสาเร็จ”
18 | BOI e-Journal






























































































   16   17   18   19   20