Page 17 - BOI eJournal No 5 | Jul - Aug 2020
P. 17

 คุณชัยพงษ์กล่าวถึงเบื้องหลังงานค้นคว้าของบริษัทว่า
“สมุนไพร ก็มาจากต้นไม้ใบหญ้า ใบ กิ่ง ก้าน ราก เปลือก ผล ซึ่งเป็นของที่กินได้อยู่แล้ว บางตัวก็เป็นสมุนไพร ที่ใช้กันตามภูมิปัญญา บางอย่างใช้ในครัว กินกับข้าว ก็มี เราต้องดูว่าตัวไหนออกฤทธิ์ด้านไหน ระหว่างใช้ เราอาจจะทดสอบแล้วพบว่าผสมกันแล้วฤทธิ์ไม่ขึ้นหรือ ด้อยลง จึงต้องใช้เวลาหลายปีในการพัฒนาตารับ และ ทดสอบว่าฤทธิ์เป็นบวกหรือลบ รวมกันแล้วอันตราย หรือไม่ พอเราได้ตารับที่เรามั่นใจว่าฤทธิ์ดีแล้ว เราจึง นาไปทดลองในหนูก่อนว่าปลอดภัยหรือไม่”
ข้อแตกต่างสาคัญของสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบันคือ ในยาสมุนไพรจะไม่สามารถรู้สารออกฤทธิ์ทั้งหมดได้ เพราะในพืชแต่ละชนิดมีสารออกฤทธ์ิที่หลากหลาย แต่สามารถศึกษาเพ่ือให้รู้ว่ามีสารออกฤทธ์ิหลักคือ อะไรได้ ซึ่งบริษัทจะนามาใช้เป็นตัวกาหนดมาตรฐาน ในการผลิตยา
คุณชัยพงษ์มองว่า หากโครงการผลิตยาสมุนไพร ของบริษัทประสบความสาเร็จ ก็จะช่วยกระตุ้นให้ อุตสาหกรรมยาสมุนไพรไทยเติบโต ด้วยการวิจัยและ พัฒนาสูตรตารับยาที่สามารถรักษาโรคสาคัญๆ ได้ และ จะช่วยเปล่ียนรูปแบบอุตสาหกรรมยารักษาโรคของไทย ให้สู้กับต่างประเทศได้
ภูมิปัญญาเชื่อมวิทยาศาสตร์
“เราเลือกทาของยาก เพราะถ้าทาของท่ัวไปจะมี คู่แข่งเยอะ เราอยากทาสิ่งที่แตกต่าง มีนวัตกรรม และ ถ้าสาเร็จคือการพลิกโลกใบน้ี ถือเป็นความท้าทาย แต่ เป็นความท้าทายบนพ้ืนฐานความรู้ท่ีเรามี ส่วนจะสาเร็จ หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง” คุณชัยพงษ์ย้อนถึงแนวคิด การจัดตั้งบริษัท จุฬามณี ฟาร์มาซูติคอล จากัด ขึ้นมา และบอกว่าตนเองคิดอยู่หลายปีว่า ทาไมไม่มีบริษัทไทย ทผ่ี ลติ ยารกั ษาโรคสา คญั ๆ ทจี่ ะทา ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ผนู้ า ในอุตสาหกรรมยารักษาโรค ทั้งที่ประเทศไทยมีสมุนไพร มีผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรอยู่จานวนมาก แต่ ยังไม่มีใครสามารถทายาไปขายในตลาดโลกได้
“ความหลากหลายของสมุนไพรไทย ต้องมีสักตัว ที่สามารถสร้างขึ้นมาเป็นตารับแล้วสามารถออกฤทธิ์ รักษาโรคได้จริง แต่ต้องเอาวิทยาศาสตร์เข้าไปจับ ไม่เอาแต่สูตรโบราณอย่างเดียว ผมก็ศึกษาว่าการรักษา เบาหวานจะหายได้ต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ซึ่ง เมื่อเรากาหนดองค์ประกอบแล้ว ก็ต้องรู้ว่ามีฤทธิ์
BOI e-Journal | 17



























































































   15   16   17   18   19