Page 15 - BOI eJournal No 1 | Nov-Dec 2019
P. 15

    “อย่างผมผลิตสินค้าตัวหน่ึง เวลามีปัญหา ลูกค้าเข้ามา คุณโชว์ให้ดูเลย ตัวนี้คนงานคนนี้เป็นคนผลิต และมีปัญหา อุณหภูมิเคร่ืองตัวนี้ ฉะนั้นยางธรรมชาติก็ต้องตรวจสอบได้ ล็อตน้ีมาจากไหน น้ายางตัวน้ีต้นตอไม่ดี มีปัญหาอย่างไร และจะกลับไปช่วยเกษตรกรได้ว่า ของคุณมีปัญหา จะปรับปรุงอย่างไร เพื่อให้ได้คุณภาพ”
โดยกลมุ่บรษิทัอนิโนเวชนั่เขยีนซอฟตแ์วรใ์สใ่นแทบ็เลต็เพอื่ ชว่ ยในการสบื ยอ้ นผา่ นการตดิ บารโ์ คด้ ทผี่ ลติ ภณั ฑท์ จี่ ะออกมา โดยเริ่มมีการแจกจ่ายอุปกรณ์นี้ไปยังสหกรณ์ต่างๆ แล้ว
เหตุผลท่ีต้องทาเช่นนี้ ดร.บัญชา มองว่ากระบวนการ สอบย้อนเป็นหนึ่งในกฎเกณฑ์ท่ีกาลังจะเข้ามา มีบทบาทในการซื้อขายยางธรรมชาติ 2 เร่ือง นั่นคือ Sustainable Natural Rubber Initiative (SNR-i) และ Forest Sustainability Platform (FSP) ซ่ึงปัจจุบัน ผู้ซื้อรายใหญ่บางรายเริ่มนามาใช้เป็นเกณฑ์พิจารณา รบั ซอื้ ยางธรรมชาตจิ ากผขู้ าย จงึ เปน็ เรอื่ งทอี่ ตุ สาหกรรมยาง ของประเทศไทยต้องให้ความสาคัญ
ผมหวังว่าหน่วยราชการ จะมาช่วยสร้างความย่ังยืน ของยางธรรมชาติ สาคัญที่สุดชาวสวน ต้องได้ประโยชน์ รายได้เพ่ิมข้ึน
“กฎเกณฑ์เหล่านี้กาลังเข้ามา ถ้าเราไม่ทาให้สินค้าของเรา เข้าเกณฑ์เหล่านี้ ก็เหมือนประมงไทยท่ียุโรปก็ไม่ซ้ือสินค้า ของเรา” ดร.บัญชา กล่าว
อีกด้านหนึ่งที่สาคัญคือ การเก็บรักษาผลผลิต เพ่ือให้มี สินค้าส่งให้กับลูกค้าได้ตลอดทั้งปี เนื่องจากยางพารา มชี ว่ งระยะเวลาการกรดี จงึ จา เปน็ ตอ้ งลงทนุ จดั ตงั้ คลงั สนิ คา้ ขนึ้ในพน้ืทขี่องการยางแหง่ประเทศไทยสาหรบัจดัเกบ็ยาง ที่ผลิตขึ้นมา เพื่อจาหน่ายอย่างต่อเนื่องท้ังปี
ดร.บัญชา สรุปภาพการทางานร่วมกันระหว่างเกษตรกร กบั กลมุ่ บรษิ ทั อนิ โนเวชนั่ วา่ เรมิ่ จากชาวสวนยางสง่ ผลผลติ ไปขายที่สหกรณ์ท่ีเป็นสมาชิก เพื่อผลิตเป็นยางแผ่น ส่งไปที่ชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางเครือข่ายปะเหลียน แล้วนามาเก็บที่คลังสินค้า โดยกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่น จะช่วยทาเรื่องการตลาด การบรรจุภัณฑ์ และเป็นพี่เล้ียง ในด้านกระบวนการผลิตให้กับสหกรณ์ผ่านห้องวิจัย ของบรษิ ทั เพอื่ ชว่ ยปรบั ปรงุ ผลผลติ ใหต้ รงตามความตอ้ งการ ของตลาด
BOI e-Journal | 15



























































































   13   14   15   16   17