Page 14 - BOI eJournal No 1 | Nov-Dec 2019
P. 14

  “ถา้ จะทา ตอ้ งทา สนิ คา้ คณุ ภาพทดี่ ีคอื สนิ คา้ ทลี่ กู คา้ ตอ้ งการ ยางธรรมชาติ ผลิตออกมาผู้ใช้ต้องการอย่างไร ไม่เคย มีใครรู้เลย แล้วก็แข่งกันในตลาดโลก ทุกคนผลิตแล้ว ก็ดัมป์ราคากัน ถ้าคุณไม่สามารถทายางหรือน้ายางที่มี ความโดดเด่นผิดจากคนอื่น คุณก็หนีไม่พ้นห่วงโซ่ของ ราคา ไม่แตกต่างจะซ้ือใครก็ได้ ถ้าคุณลง GMP และ GAP ชาวสวนก็ต้องเพิ่มกระบวนการ ถามว่าเบ่ือไหม-เบ่ือ เพราะทาแล้วมีกฎระเบียบเยอะแยะ ไปขายก็เท่ากัน เราเห็นปัญหา หน่ึงเทคนิค สองระบบ สามโครงสร้าง พ้ืนฐานที่ยังต้องแก้ไข ส่ิงท่ีสาคัญที่สุดคือ ตลาด และ อินโนเวช่ันเราอยู่ในตลาด” ดร.บัญชา กล่าว
จากการลงพ้ืนท่ีทาให้เห็นว่าปัจจุบันกระบวนการ ทา GAP และ GMP ยงั ไมส่ มบรู ณ์ และจากประสบการณ์ การประกอบธรุ กจิ ของกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่น จึงเริ่มนา ความต้องการของตลาดมาเป็นตัวต้ัง โดยสอบถามกับคู่ค้า ของบริษัท เพื่อย้อนกลับมาสร้างผลผลิตตามความต้องการ ของตลาด ผ่านงานวิจัยซึ่งเป็นสิ่งที่อินโนเวชั่นมีความถนัด
ผลการศึกษาท่ีได้มา เช่น การจะปรับเปล่ียนขนาด บรรจุภัณฑ์ยางแผ่นท่ีเดิมมักจะทาเป็นขนาด 110 กิโลกรัม และต้องทาแป้งจานวนมากเพื่อไม่ให้ยางติดกัน เมื่อไปถึง โรงงานกต็ อ้ งนา ไปตดั เปน็ ชน้ิ เลก็ สง่ ผลใหม้ ฝี นุ่ แปง้ กระจาย ทั่วโรงงาน จํากกํารสํารวจพบว่ําหํากเปลี่ยนรูปแบบ บรรจุภัณฑ์ จะทําให้ผู้ซ้ือพึงพอใจเพิ่มข้ึน โดยจะ เปลี่ยนเป็นกํารใช้พลําสติกหุ้มยํางขนําด 30 กิโลกรัม แบบเดียวกับยํางสังเครําะห์ เป็นตัวอย่ํางหนึ่งของกําร ปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น
อีกเรื่องหนึ่งที่กลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นให้ความสาคัญมาก ในโครงการนี้คือ ระบบวัดคุณภาพและระบบการสอบย้อน เพื่อช่วยให้สามารถตรวจสอบต้นตอของวัตถุดิบ ทมี่ าแตล่ ะชนิ้ ว่ามาจากท่ีใด อย่างไร ดร.บัญชา ยกตัวอย่าง กระบวนการผลิตของบริษัทเพ่ือให้เห็นภาพว่า
14 | BOI e-Journal






























































































   12   13   14   15   16