Page 16 - BOI eJournal No 1 | Nov-Dec 2019
P. 16

  ในด้านการตลาด กลุ่มบริษัทอินโนเวชั่นซึ่งมีคู่ค้าอยู่ท่ัวโลก เริ่มสารวจความต้องการยางธรรมชาติของคู่ค้าไปแล้ว หลายแห่ง เพ่ือนาความต้องการเหล่านั้นมาเป็นโจทย์ให้กับ ห้องวิจัยของบริษัท ในการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ที่จะขายให้กับลูกค้าต่อไป
ดร.บัญชา กล่าวว่า “คุณทาในสิ่งท่ีเขาต้องการได้หรือไม่ กฎระเบียบที่กาลังออกมาถ้าคุณสามารถทาได้ แล้ว ประเทศอื่นทาไม่ได้ และถ้าคุณได้คุณภาพท่ีเขาอยากได้ แทนท่ีซ้ือมาแล้วต้องมาแก้ปัญหา พวกนี้ซื้อปริมาณมาก
มูลค่าเพ่ิมที่เกษตรกรจะได้ อยู่ท่ีประมาณ 3 - 4 บาท ต่อผลผลิต 1 กิโลกรัม และหาก การหาตลาดรองรับผลผลิต เหล่านี้ได้ ก็จะช่วยสร้างความย่ังยืน ให้กับเกษตรกรในอนาคต
เราต้องให้ผู้ใช้มั่นใจ ต้องเจาะเข้าไปก่อน เราจะค่อยๆ ไป เพราะซัพพลายเรายังมีจากัด ปีนี้ต้องให้เกิด แล้วสหกรณ์ อ่ืนก็จะเข้ามา ตรังโมเดลคือโครงการเริ่มต้น”
ส่ิงที่เกษตรกรจะได้รับจากโครงการนี้คือ เมื่อเข้าสู่ กระบวนการปรับปรุงวิธีการผลิตให้เข้ากับเกณฑ์มาตรฐาน ต่างๆ ท่ีทางการยางแห่งประเทศไทยเข้าไปริเร่ิมไว้แล้ว จะช่วยลดต้นทุนในการผลิตลงผ่านผลผลิตที่เพ่ิมข้ึน ลดการสูญเสีย รวมถึงผลผลิตที่ออกมามีคุณภาพดีข้ึน ซึ่งจากการประเมินของกลุ่มบริษัทอินโนเวชั่น มูลค่าเพิ่ม ที่เกษตรกรจะได้อยู่ที่ประมาณ 3 - 4 บาทต่อผลผลิต 1 กิโลกรัม และหากหาตลาดรองรับผลผลิตเหล่านี้ได้ ก็จะช่วยสร้างความยั่งยืนให้กับเกษตรกรต่อไปในอนาคต
“เราอยากเหน็ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื เรามองวา่ เราไปสรา้ ง วัฒนธรรมให้สหกรณ์เห็นว่า ต้องพัฒนาตัวเอง ไม่อย่างน้ัน จะถูกกลืนหายไปกับเทรนด์ของโลก อินโนเวช่ันคงทา คนเดียวไม่ได้ ผมหวังว่าหน่วยราชการจะมาช่วยสร้าง ความยั่งยืนของยางธรรมชาติ สาคัญท่ีสุดชาวสวนต้องได้ ประโยชน์ รายได้เพิ่มขึ้น” ดร.บัญชา สรุป
   16 | BOI e-Journal




























































































   14   15   16   17   18