Page 13 - BOI eJournal No 1 | Nov-Dec 2019
P. 13

หลังจากลงไปสารวจการผลิตถึงสวนยาง สมาชิกสหกรณ์ ดูทิศทางการกระจายสินค้า เม่ือนามาประเมินแล้ว กลุ่มบริษัทอินโนเวชั่น สรุปเป็นแนวคิดในการเข้าไป ช่วยเหลือเกษตรกรสวนยาง 4 ด้าน คือ การพัฒนา ด้านการตลาด การพัฒนาด้านเทคนิค การพัฒนาสินค้า เชิงคุณภาพ และการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า
และเมื่อนาเร่ืองนี้ไปปรึกษากับบีโอไอก็ทาให้ได้รับทราบ ข้อมูลมาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานราก จึงกลายเป็นความลงตัวที่บริษัทจะสามารถช่วยเหลือ เกษตรกรชาวสวนยางผ่านมาตรการน้ี โดยใช้ตรังโมเดล เป็นต้นแบบสาหรับขยายสู่วงกว้างต่อไป
“ยางไทย” เพิ่มมูลค่าด้วยมาตรฐาน
แนวคิดเบ้ืองหลังโครงการน้ีเกิดจากงานสัมมนาของ กลุ่มผลิตภัณท์ยางของสมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย ในหัวข้อ “การเป็นศูนย์กลางยางของเอเชียทาได้อย่างไร” ซึ่งมีการพูดคุยกันในหลายด้าน ทั้งทางด้านเทคโนโลยี แนวโน้มทิศทางการใช้งาน รวมถึงการสร้างมาตรฐาน ยางธรรมชาติ
ข้อมูลท่ีได้จากการสัมมนาเมื่อรวมกับข้อมูลท่ีได้จาก การลงพื้นที่ ท่ีการยางแห่งประเทศไทยกาลังดาเนิน โครงการ GMP และ GAP ในจังหวัดตรัง ทาให้ทีมงานของ บริษัทอินโนเวชั่นสรุปปัญหาที่พบได้ว่าอยู่ที่ระบบและ มาตรฐานระดับสากลที่ต้องนาไปใช้เช่นเดียวกับที่บริษัท ใช้ดาเนินธุรกิจอยู่
ภายหลังจากนาเข้าที่ประชุมกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติ การสนับสนุนโครงการนี้ การลงพื้นที่สารวจอย่างจริงจัง เพื่อหาคาตอบที่ชัดเจนจึงเริ่มขึ้น คาตอบที่ได้จาก การสารวจก็คือ
 BOI e-Journal | 13




























































































   11   12   13   14   15