Page 98 - รายงานประจำปี 2562
P. 98

                                ภาพรวมการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติจัดเป็นอุตสาหกรรม เป้าหมาย (New S-curve) ซึ่งจะสามารถขอรับการส่งเสริมได้ ในประเภทกิจการ 4.5.1 กิจการผลิตเครื่องจักร และ/หรือ อุปกรณ์อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการออกแบบทางวิศวกรรม และ 4.5.4 กิจการประกอบหุ่นยนต์หรืออุปกรณ์อัตโนมัติ และ/หรือชิ้นส่วน
ทั้งน้ี ในปี 2562 อุตสาหกรรมกลุ่มนี้มีโครงการที่ได้รับ การส่งเสริมแล้ว 7 โครงการ และมีมูลค่าเงินลงทุน 860 ล้านบาท
มาตรการกระตุ้นกลุ่มผู้ใช้ (Demand Side)
นอกจากนี้ สานักงานยังมีมาตรการพิเศษเพื่อส่งเสริม ให้ภาคอุตสาหกรรมนาหุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติมาใช้ ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน ตามมาตรการ ส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ผู้ได้รับ การสง่ เสรมิ สามารถนา เงนิ ลงทนุ เพอื่ ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพดงั กลา่ ว มาลดหยอ่ นภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นระยะเวลา 3 ปี
โดยในช่วงที่ผ่านมา จนถึงปี 2562 มีโครงการได้รับการส่งเสริม ตามมาตรการนแี้ ลว้ จา นวน 69 โครงการ เงนิ ลงทนุ รวมประมาณ 5,728 ลา้ นบาท ซงึ่ จะเหน็ ไดว้ า่ ภาคอตุ สาหกรรมมคี วามตอ้ งการ ท่ีจะปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต และเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันอีกด้วย ดังตารางที่ 3
ตารางท่ี 3 สถิติโครงการที่ได้รับการส่งเสริมตามมาตรการ ปรับเปล่ียนเครื่องจักรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต 2 ปี ท่ีผ่านมา
โดยมีจานวนโครงการที่ได้รับการส่งเสริมตามมาตรการนี้เพิ่มขึ้น จงึ เปน็ แนวโนม้ ทด่ี วี า่ จะมผี ปู้ ระกอบการทสี่ นใจในการนา หนุ่ ยนต์ และระบบอัตโนมัติมาใช้ในการผลิตเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ การผลิต ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้มี กลไกการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คือ การกระตุ้นให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและธุรกิจบริการ มีความต้องการใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติให้มากขึ้นก่อน (Demand) เพ่ือเป็นกลไกท่ีจะขับเคลื่อนให้เกิดการซื้อหุ่นยนต์ และระบบอตั โนมตั ิ (Supply) ทจี่ ะนา มาสกู่ ารพฒั นาอตุ สาหกรรม หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในประเทศอีกเป็นจานวนมาก
ปัจจุบันหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติจะเข้ามาเป็นผู้ช่วย ในการทางานที่เสี่ยงภัย ท้ังยังเป็นระบบที่มีความแม่นยาสูง ลดการใช้แรงงานมนุษย์ เพ่ือนาแรงงานมนุษย์มาใช้ในงาน ที่ต้องการการตัดสินใจและใช้วิจารณญาณแทน ปัจจุบันหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ จึงถูกนามาใช้ในภาคผลิตเป็นจานวนมาก โดยกลุ่มอุตสาหกรรมท่ีมีการนาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ มาใช้มากท่ีสุดคือ อุตสาหกรรมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์
อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวน้ียังมีข้อจากัดในประเด็นที่ว่า ไม่สามารถสนับสนุนทุกกิจการได้ จะใช้ได้เฉพาะกับกิจการที่มี ประเภทในบัญชีประเภทกิจการท่ีให้รับการส่งเสริมการลงทุนได้ ในปัจจุบันเท่าน้ัน เน่ืองจากการให้การส่งเสริมการลงทุนนั้น ต้องประกาศกาหนดประเภทกิจการที่จะให้การส่งเสริม
โดยสิทธิและประโยชน์น้ีให้แก่ทั้งโครงการที่ได้รับส่งเสริม จากสานักงานที่ดาเนินการอยู่เดิม (เฉพาะโครงการท่ีมีสิทธิ ภาษีนิติบุคคลหมดลงแล้ว หรือเป็นโครงการท่ีไม่ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล) และโครงการท่ีไม่ได้รับการส่งเสริม แต่ต้องอยู่ในประเภทที่อยู่ในข่ายให้การส่งเสริมก็สามารถ ยื่นขอรับการส่งเสริมได้
ทั้งน้ี เพ่ือสนับสนุนการปรับเปลี่ยนไปสู่ระบบอัตโนมัติ เป็นการทั่วไป กระทรวงการคลังอยู่ระหว่างการพิจารณากาหนด มาตรการสนับสนุน กล่าวคือ อนุญาตให้นาเงินลงทุนและ ค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้องไปหักลดหย่อนภาษีได้ร้อยละ 200 โดย ในการดาเนินการดังกล่าว ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยี หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Center of Robotic Excellence: CoRE) สามารถทาหน้าที่เป็นหน่วยงานให้การรับรอง ความเหมาะสมของการนาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ ในกิจการได้
ปี
จานวนโครงการ เงินลงทุน (ล้านบาท)
2561 2562
รวม
 23 46 69 3,560 2,168 5,728
  96
รายงานประจาปี 2562 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
















































































   96   97   98   99   100