Page 91 - รายงานประจำปี 2562
P. 91

                                แทนทจ่ี ะทงิ้ ไปเปน็ ขยะเมอื่ สนิ้ สดุ การบรโิ ภค เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น จึงเป็นการนาวัสดุที่เป็นองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์เหล่านั้น กลับมาสร้างคุณค่าใหม่ หมุนเวียนเป็นวงจรต่อเนื่องโดยไม่มี ของเสยี โดยทร่ี ะบบการผลติ แบบเดมิ หรอื ระบบการผลติ แบบตรง (Linear Economy) ท่ีเป็นการผลิตแบบใช้แล้วท้ิง (Make-Use- Dispose)และเนน้ กา ไรเปน็ ตวั ตง้ั ปรบั เปลยี่ นไปสรู่ ะบบการผลติ แบบ หมุนเวียนท่ีเน้นการนาวัตถุดิบจากสินค้าท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ (Make-Use-Return) พฒั นาไปสกู่ ารใชก้ ระบวนการผลติ ทเ่ี ปน็ มติ ร ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ใชพ้ ลงั งานสะอาด โดยจะชว่ ยลดผลกระทบเชงิ ลบ และเพิ่มผลกระทบเชิงบวกต่อระบบเศรษฐกิจ
ปัจจุบันนโยบายจากรัฐในหลายภูมิภาคท่ัวโลก ได้ครอบคลุม เปา้ หมายและนโยบายในการลดขยะพลาสตกิ การลดการฝงั กลบ ขยะ และเพ่ิมปริมาณการรีไซเคิลซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า Circular Economy กาลังถูกผลักดันอย่างจริงจังทั้งจากภาครัฐและ ภาคธุรกิจท่ัวโลก สาหรับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน นอกจากจะส่งผลกระทบเชิงบวก ต่อสิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยงั สนบั สนนุ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ชว่ ยเพม่ิ ขดี ความสามารถ ในการแข่งขัน รวมไปถึงการจ้างงานท่ีเพิ่มขึ้น สาหรับ ภาคอุตสาหกรรมกระบวนการผลิตภายใต้แนวคิดดังกล่าว จะช่วยลดต้นทุนและเพ่ิมรายได้จากเทคโนโลยีที่ใช้วัตถุดิบได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ทิศทางประเทศไทยกับ Circular Economy
ภาคเอกชนหลายบริษัทในไทยเริ่มให้ความสาคัญกับการพัฒนา ท่ีย่ังยืนและส่ิงแวดล้อมมากข้ึน ภายใต้แนวคิดระบบเศรษฐกิจ หมุนเวียน เช่น การลดรายจ่ายด้านพลังงานได้ และนาน้า กลับมาใช้ในกระบวนการผลิตใหม่ หรือลดการใช้ทรัพยากร ในการผลิตลงร้อยละ 25 แต่ยังคงคุณภาพของสินค้าได้เช่นเดิม รวมถึงการใช้ขยะพลาสติกเป็นส่วนประกอบในการทาถนน ยางมะตอย เปน็ ตน้ ขณะเดยี วกนั การปรบั พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภค เป็นอีกปัจจัยสาคัญในการก้าวเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน เช่น การรณรงค์ลดการใช้พลาสติกแบบใช้แล้วทิ้ง (Single-use plastic) ที่ไม่จาเป็นหลายประเภทและหันไปใช้วัสดุที่เป็นมิตร กับส่ิงแวดล้อมแทน
สาหรับภาครัฐยังให้ความสาคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่นเดียวกับทิศทางของโลก ที่ตระหนักในเรื่องของสิ่งแวดล้อม และรปู แบบการเดนิ หนา้ ของประเทศในรปู แบบใหม่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการกา หนดนโยบายรฐั บาลในแผนยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ด้านการสร้าง การเตบิ โตดว้ ยคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม สอดคลอ้ งกบั
เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนข้อที่ 12 ขององค์การสหประชาชาติ วา่ ดว้ ยเรอื่ งแผนการบรโิ ภคและการผลติ ทยี่ งั่ ยนื ซง่ึ ระบบเศรษฐกจิ หมุนเวียนเป็นกุญแจสาคัญในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว และ เป็นส่วนหนึ่งในโมเดลการพัฒนาใหม่ รวมทั้งการดาเนินการ ในรูปแบบต่างๆ ภายใต้การดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมให้ความเห็นและ ข้อเสนอแนะ
แนวทางของประเทศไทยในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น 4 ด้าน คือ
1. ด้านการผลิตภาคอุตสาหกรรม 2. ด้านการใช้งานและบริโภค
3. ด้านการจัดการขยะหรือของเสีย 4. ด้านการใช้วัตถุดิบรอบสอง
โครงการขนาดใหญ่ของรัฐบาล เช่น การดาเนินการพื้นที่ ระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Eastern Economic Corridor: EEC) ก็ได้นาแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาวางแผนจัดการแก้ปัญหาเป็นหลัก โดยร่วมมือ UNIDO (The United Nations Industrial Development Organization) จัดทาแผน ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและ ค ว า ม ร เ้ ู ก ย่ ี ว ก บั C i r c u l a r E c o n o m y ก า ร พ ฒั น า พ นื ้ ท ไี ่ ม ใ่ ห ม้ นี า ้ เ ส ยี ไหลลงสู่สิ่งแวดล้อมและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมถงึ การดแู ลพนื้ ทอี่ ตุ สาหกรรมใหใ้ ชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชน์ สูงสุด นาส่ิงที่เหลือจากภาคอุตสาหกรรมมาใช้ใหม่ หรือ ใช้ประโยชน์ให้ได้ท้ังหมด รวมท้ังการกาหนดให้พ้ืนที่ EEC เป็นต้นแบบนาร่องก่อนขยายผลไปยังพื้นท่ีอื่น ๆ ท่ัวประเทศ
สานักงานได้ตระหนักถึงความสาคัญของ Circular Economy จึงได้กาหนดนโยบายให้การส่งเสริมในหลายประเภทกิจการที่จะ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การนา ทรพั ยากรกลบั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ สร้างมูลค่าเพ่ิมจากการนากลับมาใช้ รวมท้ังการลดขยะหรือ ของเสยี ใหเ้ หลอื ศนู ยท์ ง้ั ทางตรงและทางออ้ มในหลายประเภทกจิ การ ตงั้ แตก่ ารผลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑต์ น้ นา้ กลางนา้ และปลายนา้ เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก การผลิตเส้นใย และการผลิตโลหะ เปน็ ตน้ ซงึ่ เปน็ การนา ของเสยี กลบั มาเปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลติ เปน็ ผลิตภัณฑ์ หรือแม้แต่การเป็นวัตถุดิบสาหรับผลิตผลิตภัณฑ์ ใหม่อีกครั้ง การนาของเสียกลับมาใช้ในการผลิตเป็นพลังงาน เช่น การนาของเสียจากภาคอุตสาหกรรมมาเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไฟฟ้า หรือการนาของเสียจากภาคครัวเรือนมาผลิต เป็นเชื้อเพลิง เป็นต้น หรือการสนับสนุนให้เกิดการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่จะช่วยลดปริมาณของเสีย ที่จะเกิดในอนาคต
รายงานประจาปี 2562 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
89






















































































   89   90   91   92   93