Page 89 - รายงานประจำปี 2562
P. 89

                                 • โครงการวิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อน โดยใช้ เทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมายในการตรวจหาลักษณะทาง พันธุกรรม เพื่อช่วยในการปรับปรุงพันธุ์พืช การตรวจสอบ ความบริสุทธ์ิของสายพันธุ์ ผลลัพธ์ที่ได้คือ จะช่วย เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ทดี่ ี ตา้ นทานโรค สง่ ผลใหเ้ กษตรกร ทนี่ า เมลด็ พนั ธไ์ุ ปเพาะปลกู ไดผ้ ลผลติ ทเี่ พมิ่ ขน้ึ ลดการสญู เสยี และ ช่วยเพิ่มรายได้จากการจาหน่ายให้เกษตรกร
• การพฒั นาผงโปรตนี บรสิ ทุ ธจิ์ ากวตั ถดุ บิ ตง้ั ตน้ คอื นา้ ตาลทราย โดยใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพในการผลติ เพอื่ สง่ ไปผลติ เปน็ เสน้ ใย แมงมุมเทียม โดยเส้นใยน้ีมีคุณสมบัติเหนียว แข็งแรง และ ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม สามารถนาไปต่อยอดเป็นเส้ือผ้า ทดแทนการใชข้ นสตั ว์ (แคชเมยี ร)์ ในอตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ หรอื เป็นช้ินส่วนต่างๆ ทดแทนเหล็กในอุตสาหกรรมยานยนต์ได้
ในด้านการแพทย์จะมีการลงทุนค้นหาไบโอฟาร์มา (Biopharma) หรือยาท่ีได้จากกระบวนการทางชีวภาพ ตัวอย่างโครงการ ท่ีได้รับการส่งเสริม เช่น
• โครงการเพาะเล้ียงและผลิตเซลล์ภูมิคุ้มกันบาบัดโดยใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการต่อยอดงานวิจัยและพัฒนา ด้านเซลล์ภูมิคุ้มกันบาบัด (Immune Cell Therapy) เพื่อใช้ รกั ษาโรคมะเรง็ และซอ่ มแซมอวยั วะตา่ งๆ ในรา่ งกาย รวมถงึ การตรวจวิเคราะห์ยีน
• การผลิตสารเฮพาริน โซเดียม (Crude Heparin Sodium) ซงึ่ เปน็ สารออกฤทธยิ์ บั ยงั้ การแขง็ ตวั ของเลอื ด โดยจะสกดั สาร ดังกล่าวจากเยื่อบุผนังลาไส้เล็กของสุกรมาผ่านการย่อย ดว้ ยเอนไซม์ และนา ไปใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลติ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์ ยับย้ังการแข็งตัวของเลือด เช่น ยาสาหรับหลอดเลือด และ สารท่ีใส่ในน้ายาฟอกเลือดในเครื่องล้างไต เป็นต้น
ปจั จบุ นั มกี ารนา จลุ นิ ทรยี ม์ าใชใ้ นการแปรรปู อาหาร เชน่ การหมกั การดองพชื ผกั การผลติ นมเปรยี้ ว ซอี วิ๊ เตา้ เจยี้ ว เปน็ ตน้ ซงึ่ ทผี่ า่ นมา สา นกั งานไดต้ ระหนกั ถงึ ความสา คญั ของการใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพ ดังกล่าวในการผลิตและถนอมอาหาร และได้ให้ส่งเสริมโครงการ ผลิตโยเกิร์ตซึ่งใช้จุลินทรีย์ท่ีเป็นโปรไบโอติกมาหมัก
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้กาหนดให้กิจการเทคโนโลยี ชีวภาพเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยโครงการจะได้ รับสิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้สูงสุดถึง 10 ปี โดย ในปี 2562 ที่ผ่านมา การส่งเสริมกิจการเทคโนโลยีชีวภาพนั้น มคี วามหลากหลายและสามารถตอบโจทยก์ ารพฒั นาอตุ สาหกรรม ทยี่ งั่ ยนื ไดค้ รอบคลมุ ตงั้ แตร่ ะบบเกษตรพน้ื ฐาน อาหาร ตลอดจน ยาชีววัตถุ
อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนและเคมีชีวภาพ ที่ย่ังยืน
ในแผนพัฒนาทางเลือกของประเทศไทย มีส่วนแบ่งพลังงาน ทางเลอื กประมาณรอ้ ยละ 30 ของพลงั งานทใ่ี ชท้ งั้ หมดในประเทศ ซึ่งที่ผ่านมาสานักงานให้การส่งเสริมการลงทุนให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดยโครงการ ทใี่ หส้ ง่ เสรมิ เชอื้ เพลงิ ชวี ภาพ ชวี มวล และกา๊ ซชวี ภาพในปี 2562 เชน่
เชื้อเพลิงชีวภาพ โดยนาผลผลิตการเกษตร รวมทั้งเศษวัสดุ หรอื ขยะ หรอื ของเสยี ทไี่ ดจ้ ากผลผลติ ทางการเกษตรมาผลติ เปน็ เช้ือเพลิง เช่น
• การผลิตเอทานอลจากกากน้าตาล ซึ่งเป็นของเสียท่ีได้จาก โรงงานนา้ ตาลมาผา่ นกระบวนการหมกั โดยเตมิ เชอื้ จลุ นิ ทรยี ์ เช่น ยีสต์ เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนน้าตาลเป็นเอทานอลและ ไปใช้ทดแทนน้ามันเบนซิน
• การผลติ นา้ มนั สงั เคราะห์ โดยนา เศษยางมาผา่ นกระบวนการ ไพโรไลซิส เพ่ือให้ได้เป็นน้ามันที่มีคุณสมบัติใกล้เคียง น้ามันดีเซลหรือน้ามันเบนซิน
ชีวมวลและก๊าซชีวภาพ ชีวมวลในประเทศส่วนใหญ่ได้มาจาก ของเสียจากอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพดฟางขา้วเศษไม้แกลบกากนา้ตาลเปน็ตน้ กา๊ซชวีภาพ สว่ นใหญไ่ ด้จากน้าเสียของโรงงานผลิตต่างๆ ตัวอย่างโครงการ ท่ีได้รับการส่งเสริม เช่น
• การผลิตก๊าซชีวภาพ โดยนาน้าเสียมาจากโครงการผลิต แปง้ มนั สา ปะหลงั หรอื ผลติ เอทานอลซง่ึ เปน็ นา้ เสยี ทมี่ คี า่ COD (ChemicalOxygenDemand)สงู มาผา่ นกระบวนการยอ่ ยสลาย ทางชีวภาพ จากนั้นไปผลิตไฟฟ้าเพื่อจาหน่ายต่อไป
                รายงานประจาปี 2562 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
87



















































































   87   88   89   90   91