Page 90 - รายงานประจำปี 2562
P. 90

                                 • การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัด เป็นการนาเศษไม้ที่เหลือจาก การเกษตรมาผา่ นขนั้ ตอนการบด อบ ลดความชนื้ และบบี อดั เป็นรูปทรงตามต้องการ เพื่อนาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล ในอุตสาหกรรมการผลิต
สารเคมีจากชีวภาพ ให้ส่งเสริมในกิจการผลิตเคมีภัณฑ์หรือ พอลเิ มอรท์ เี่ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม หรอื ผลติ ภณั ฑจ์ ากพอลเิ มอร์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างโครงการที่ให้การส่งเสริม ในปี 2562 เช่น
• การนาเม็ดพลาสติกชีวภาพที่ผลิตจากวัตถุดิบชีวมวล (Biomass) เช่น อ้อย แป้งมันสาปะหลัง เป็นต้น มาข้ึนรูป เพอ่ื ผลติ เปน็ บรรจภุ ณั ฑส์ า หรบั เครอื่ งสา อางและสงิ่ ประทนิ ผวิ
• การผลิต Lactic acid โดยใช้วัตถุดิบน้าตาลจากอ้อย ซ่ึง จัดเป็นทรัพยากรหมุนเวียน มาผ่านกระบวนการหมักด้วย เช้ือจุลินทรีย์ในระบบปิด จัดเป็นเคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมท่ีนาไปเป็นวัตถุดิบต้ังต้นสาหรับการผลิต พลาสติกชีวภาพชนิด Polylactic Acid Polymer หรือ PLA
การนําาทรัพยากรชีวภาพมาใช้เพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
ผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุทางการเกษตร เป็นการให้ส่งเสริมโครงการที่นาผลพลอยได้หรือเศษวัสดุ ทางการเกษตรมาผ่านกระบวนการผลิต เพ่ือให้กลายเป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงข้ึน ตัวอย่างโครงการท่ีให้ การส่งเสริมในปี 2562 เช่น
• การนา เปลอื กมะพรา้ วมาทา ใหแ้ หง้ และอดั ขนึ้ รปู เพอื่ นา ไปใช้ เป็นวัสดุปลูกพืชในเชิงพาณิชย์
• การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุทางการเกษตร เช่น กะลา มะพร้าว กะลาปาล์ม เป็นต้น โดยจะใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ได้แก่ การใช้วิธีกระตุ้นทางกายภาพโดยควบคุมอุณหภูมิ และไอน้า เพื่อทาให้สารอินทรีย์ต่างๆ สลายไป ทาให้ โครงสร้างภายในมีลักษณะรูพรุนอยู่ท่ัวไป ซ่ึงจะนาไปใช้งาน เพื่อดูดซับกลิ่นในน้าหรือเคร่ืองกรองอากาศ
• การผลติ เยอื่ กระดาษจากทะลายปาลม์ เปลา่ ซงึ่ เปน็ เศษของเสยี จากการกล่ันน้ามันปาล์ม โดยนาทะลายปาล์มเปล่ามา ผา่ นกระบวนการผลติ เยอื่ กระดาษ จะไดก้ ระดาษทม่ี คี ณุ ภาพ ใกล้เคียงกับกระดาษที่ผลิตจากเย่ือไม้
ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ
ประเทศไทยยังได้เปรียบในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ เนอ่ื งจากมตี น้ ทนุ ความหลากหลายทางชวี ภาพสงู ตง้ั อยใู่ นเขตรอ้ น อันเป็นปัจจัยท่ีเอื้อต่อการเกิดความผันแปรของสิ่งมีชีวิต ต่างๆ เพราะมีความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้า และแร่ธาตุต่างๆ การพฒั นาอตุ สาหกรรมชวี ภาพของประเทศไทยใหม้ คี วามยงั่ ยนื นนั้ ตอ้ งอาศยั ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยกี ารผลติ ประกอบ กับการพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยคี วบคกู่ บั องคค์ วามรดู้ า้ นกระบวนการชวี ภาพ ซงึ่ เปน็ กระบวนการผลิตพ้ืนฐานสาคัญของอุตสาหกรรมชีวภาพ ที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy)
การเติบโตทางเศรษฐกิจและระบบการผลิตของอุตสาหกรรม ในชว่ งระยะทผี่ า่ นมา สง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และเริ่มทวีความรุนแรงมากข้ึน โดยผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ดังกล่าว ส่งผลให้รัฐบาลในหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้ง ประเทศไทยเองไดร้ บั รแู้ ละตระหนกั ถงึ สถานการณป์ ญั หาดงั กลา่ ว ทาให้เห็นคณุ คา่ และความสา คญั ตอ่ การใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยใู่ หเ้ กดิ ความคมุ้ คา่ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด จึงเป็นที่มาของแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียน หรือท่ีเรียกกันว่า Circular Economy เพื่อ เปน็ อกี หนงึ่ ทางเลอื กใหมท่ จี่ ะนา พาประเทศไปสกู่ ารพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development) โดยการมุ่งให้ความสาคัญ กับการเลือกใช้วัสดุ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีในกระบวนการที่เกี่ยวข้อง ตลอดวงจรชีวิต ของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด นามาสู่การผลิตที่ของเสียและมลพิษน้อยลงตลอดท้ัง กระบวนการของสินค้าและบริการ
Circular Economy หรือระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน จึงเป็น ระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่วางแผนและออกแบบมา เพอื่ คนื สภาพหรอื ใหช้ วี ติ ใหมแ่ กว่ สั ดตุ า่ งๆ ในวงจรชวี ติ ผลติ ภณั ฑ์
                           88
รายงานประจาปี 2562 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน



















































































   88   89   90   91   92