Page 91 - รายงานประจำปี 2561
P. 91

เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เพ่ือเพิ่ม ประสิทธิภาพการเกษตรและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้า นอกจากการส่งเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพ่ือ การแปรรูปผลผลิตปาล์มน้ามันเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมปลายน้า เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลปาล์มแล้ว หากผลผลิตจากสวนปาล์ม ลดน้อยลงหรือขาดประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงปริมาณ และคุณภาพ ก็จะส่งผลกระทบทางลบต่ออุตสาหกรรมปลายน้า ด้วยเช่นกัน ปัจจุบันการนาเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เข้ามาช่วยในการพัฒนาภาคการเกษตรถือเป็นส่ิงสาคัญ สานักงานให้ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีชีวภาพ มาประยุกต์ใช้เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร ด้วย ตัวอย่างเช่น สานักงานได้ให้การส่งเสริมโครงการพัฒนา และปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ามันโดยเทคโนโลยีชีวภาพคือ การวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (DNA Fingerprinting) ด้วยวิธี การใช้เครื่องหมายโมเลกุลตรวจสอบตาแหน่งยีน (Molecular Makers) ซึ่งจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่ทันสมัยที่ช่วยในการ ค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลของยีนควบคุมสีผลเพื่อพัฒนาและ คัดเลือกต้นพ่อ-แม่พันธุ์ปาล์มน้ามันที่สามารถกาหนดสีผลได้ ตรงตามความต้องการและมีความสม่าเสมอทางพันธุกรรม ผลลัพธ์ท่ีได้คือ จะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตที่ดีของ สวนปาล์ม เช่น เพิ่มความสม่าเสมอของสายพันธุ์ปาล์ม ในแปลงปลูก เพิ่มเปอร์เซ็นต์น้ามันปาล์มจากผลปาล์มสุก ที่เกี่ยวเก็บได้ หรืออีกนัยหน่ึงคือทาให้ได้น้ามันปาล์มที่เพ่ิม ขึ้นเมื่อเทียบต่อพื้นที่เพาะปลูกเท่าเดิม และยังช่วยเพ่ิมรายได้ จากการจาหน่ายผลปาล์มที่มีระดับความสุกเต็มที่แก่เกษตรกร เป็นต้น
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ไม่ได้มีบทบาทเฉพาะ อุตสาหกรรมเกษตรเท่านั้น ทุกกิจกรรมท่ีมีความเก่ียวข้องกับ การใช้เซลล์ส่ิงมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ หรือ ใช้กระบวนการผลิตทางชีวภาพ (Bioprocess) ล้วนเป็นกิจกรรม ที่สามารถนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพต่างๆ มาใช้ พัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ หรือใช้เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ได้ท้ังสิ้น สานักงานได้กาหนดให้กิจการ Biotechnology เป็นกลุ่ม อุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยโครงการจะได้รับสิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้สูงสุดถึง 10 ปี ในปี พ.ศ. 2561 ท่ีผ่านมา สา นกั งานไดใ้ หก้ ารสง่ เสรมิ กจิ การเทคโนโลยชี วี ภาพรวมทงั้ สนิ้ 11 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนรวม 11,662.3 ล้านบาท ตัวอย่างเช่น การผลิตสารชีวภัณฑ์ที่ใช้ Cell Culture Technology การผลิต สารเสริมอาหารสาหรับสัตว์ด้วยเทคโนโลยีจีโนม และการผลิต สารออกฤทธิ์ในกลุ่ม Growth Factor ด้วยเทคโนโลยี DNA Recombinant เป็นต้น จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีชีวภาพนั้น มีความหลากหลายและสามารถตอบโจทย์การพัฒนา อุตสาหกรรมท่ียั่งยืนได้ครอบคลุมต้ังแต่ระบบเกษตรพ้ืนฐาน อาหาร ตลอดจนยาชีววัตถุ
ในปี พ.ศ. 2561 สานักงานได้ให้การส่งเสริม กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ
11
โครงการ มูลค่าเงินลงทุนรวม
11,662.3
ล้านบาท
ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ
การพฒั นาอตุ สาหกรรมชวี ภาพของประเทศไทยใหม้ คี วามยง่ั ยนื จะต้องอาศัยความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการผลิต ประกอบกบั การพฒั นาองคค์ วามรใู้ หแ้ กบ่ คุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีควบคู่กันไป องค์ความรู้ด้าน Bioprocess ซึ่ง เป็นกระบวนการผลิตพื้นฐานสาคัญของอุตสาหกรรมชีวภาพ ค ว ร จ ะ ต อ้ ง ม กี า ร พ ฒั น า อ ย า่ ง ต อ่ เ น อื ่ ง เ ช น่ ก า ร พ ฒั น า เ ท ค โ น โ ล ย ี การหมัก (Fermentation) ด้วยเซลล์จุลินทรีย์ใหม่ ซึ่งต้องอาศัย การพฒั นาปรบั ปรงุ สายพนั ธจ์ุ ลุ นิ ทรยี ท์ ม่ี คี วามปลอดภยั รว่ มดว้ ย เป็นต้น
นอกจากน้ีประเทศไทยยังมีผลผลิตทางการเกษตรอ่ืนๆ ท่ีมี ศักยภาพและเป็นฐานรากสาคัญของอุตสาหกรรมชีวภาพ เช่น มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวโพด เป็นต้น อย่างไรก็ตามการท่ีจะ พัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพของประเทศไทยให้มีความย่ังยืนน้ัน ความท้าทายคือ จะต้องสร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ในห่วงโซ่การผลิตให้ได้มากท่ีสุด กล่าวคือ ลดการส่งออก ผลผลิตทางการเกษตร กระตุ้นให้เกิดการค้าและการลงทุน ภาคอุตสาหกรรมในผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพ่ิมสูง เพื่อสร้าง ความมั่นคงให้เกิดขึ้นตลอดสายห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ต้นน้า จนถึงปลายน้าต่อไป
Thailand Investment Year
                             รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
89






















































































   89   90   91   92   93