Page 90 - รายงานประจำปี 2561
P. 90

ภาพรวมเศรษฐกิจการลงทุน
  ปาล์มนํา้ามันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพท่ียั่งยืน
ด้วยความที่ประเทศไทยมีความได้เปรียบจากการเป็นแหล่ง ผลิตพืชผลทางการเกษตรรายสาคัญของโลก เช่น ยางพารา ปาล์มน้ามัน อ้อย และมันสาปะหลัง เป็นต้น ทาให้ไทย มีศักยภาพในการต่อยอดความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรม ปลายน้าได้ดี และบริษัทข้ามชาติต่างให้ความสนใจที่จะเลือก ไทยเป็นฐานการผลิตในกลุ่มอุตสาหกรรมชีวภาพ ตัวอย่าง พืชเศรษฐกิจที่มีความสาคัญของประเทศไทยท่ีมีศักยภาพ ในการต่อยอดสายผลิตภัณฑ์ในห่วงโซ่อุปทานไปสู่ผลิตภัณฑ์ ที่มีมูลค่าเพ่ิมสูง และถือเป็นหนึ่งฐานสาคัญของการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจฐานชีวภาพที่ย่ังยืน คือ ปาล์มน้ามัน
เมื่อเกษตรกรทาการเก็บเก่ียวผลปาล์มสุกจากสวนส่งเข้าสู่ โรงงานสกัดเพื่อแปรรูปผลปาล์มให้เป็นน้ามันปาล์มดิบและ นา้ มนั เมลด็ ในปาลม์ ดบิ แลว้ นอกจากนา้ มนั ปาลม์ ดบิ จะถกู สง่ เขา้ โรงกล่ันเพ่ือเพ่ิมความบริสุทธ์ิสาหรับเป็นน้ามันเพื่อการบริโภค ต่อไปแล้วนั้น น้ามันปาล์มดิบยังสามารถส่งเข้าเป็นวัตถุดิบ พื้นฐานสาหรับการผลิตไบโอดีเซล (Biodiesel) ซึ่งจัดเป็น การพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกให้กับประเทศ ลดการนาเข้าและการใช้พลังงานจากแหล่งปิโตรเลียมได้อีกด้วย
ข้ันตอนการผลิตไบโอดีเซลในปัจจุบันที่ยังคงเน้นการใช้ปฏิกิริยา เคมี(ChemicalProcess)ทเ่ีรยี กวา่ “TransesterificationProcess” จะก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ร่วมจากกระบวนการผลิต (Co-products) ที่สาคัญ ได้แก่ กลีเซอรีน และ Fatty alcohol จัดเป็นวัตถุดิบ
88
สาคัญในกลุ่มอุตสาหกรรมโอเลโอเคมิคอล (Oleochemical) ซ่ึงเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการเพ่ิม ความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ท่ีมาจากน้ามันปาล์ม ผลิตภัณฑ์โอเลโอเคมีคอลหากนามาต่อยอดด้วยกระบวนการ ทางเคมที เี่ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มแลว้ สามารถผลติ เปน็ สารตงั้ ตน้ สาหรับอุตสาหกรรมปลายน้าได้หลากหลาย เช่น Glyceryl Monostearate เป็นสารที่มีคุณสมบัติเป็น Emulsifier ใช้ใน อุตสาหกรรมเคร่ืองสาอาง พลาสติก และอาหาร หรือ Alkyl Polyglucoside มีคุณสมบัติเป็นสารในกลุ่ม Surfactant เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสุขอนามัยส่วนบุคคล ต่างๆ เป็นต้น โอเลโอเคมิคอลจัดเป็นเคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม สามารถนามาทดแทนการใช้กลีเซอรีน จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี อีกทั้งกระบวนการผลิตยังก่อให้ เกิดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่น้อยลง
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนให้การสนับสนุน การลงทุนในห่วงโซ่การผลิตของปาล์มน้ามัน จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2561 สานักงานได้ให้การส่งเสริมโครงการเพื่อผลิต น้ามันปาล์มและน้ามันเมล็ดในปาล์มดิบรวมทั้งสิ้น 11 โครงการ มลู คา่ เงนิ ลงทนุ 1,788.2 ลา้ นบาท โครงการผลติ กลเี ซอรนี บรสิ ทุ ธ์ิ และสารในกลุ่มโอเลโอเคมิคอล จานวน 3 โครงการ มูลค่า เงินลงทุน 8,916.0 ล้านบาท ทั้งนี้คาดว่าการส่งเสริมให้เกิด การลงทุนดังกล่าวจะช่วยลดมูลค่าการนาเข้าวัตถุดิบสาหรับ อุตสาหกรรมการผลิตยา อาหาร เคร่ืองสาอาง และผลิตภัณฑ์ สุขอนามัยส่วนบุคคลได้
รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน


























































































   88   89   90   91   92