Page 68 - รายงานประจำปี 2561
P. 68

ผลสัมฤทธิ์ที่สําคัญ
 รวมถึงกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ ท่ีจะต้องขยายขอบข่าย ให้ครอบคลุมต่อไปในอนาคตอีก เช่น อุตสาหกรรมระบบราง และอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ สาหรับกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ ของกองพัฒนาและเชื่อมโยงการลงทุน เช่น การจัด สัมมนาเสริมสร้างความรู้ให้กับผู้ประกอบการ กิจกรรมจับคู่ เจรจาธุรกิจ การศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิด โอกาสในการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิต ตลอดจนโอกาส ทางการตลาดที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
ในปี 2561 นับเป็นปีท่ีสาคัญสาหรับกองพัฒนาและเช่ือมโยง การลงทุน เนื่องจากเป็นปีที่ได้รับการยอมรับความสาคัญ ประกอบกับได้รับการมอบหมายภารกิจมากข้ึน จึงได้รับ การยกระดบั จากหนว่ ยงานยอ่ ย (Unit) ขนึ้ เปน็ ระดบั กอง (Division) ภายใตช้ อ่ื กองพฒั นาและเชอ่ื มโยงการลงทนุ (IndustrialLinkage Development Division: ILDD) ทาให้สามารถเพิ่มศักยภาพและ ประสิทธิภาพในการทางาน พร้อมท้ังขยายขอบเขตของการให้ บรกิ ารไดค้ รอบคลมุ ในทกุ อตุ สาหกรรมใหเ้ ตบิ โตอยา่ งมศี กั ยภาพ และยั่งยืนต่อไป
สรุปผลการดาเนินการกิจกรรม
ผู้ประกอบการทั้งผู้ที่ต้องการจัดหาผู้ผลิตช้ินส่วนอุตสาหกรรม ต่างๆ จากผู้ผลิตในประเทศไทยและผู้ผลิตช้ินส่วนอุตสาหกรรม ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ข้างต้น สามารถติดต่อได้ที่ กองพฒั นาและเชอื่ มโยงการลงทนุ ทต่ี งั้ อยภู่ ายในสา นกั งาน BOI โทรศัพท์ 0 2553 8111 กด 5 โทรสาร 0 2553 8325 เว็บไซต์ http://build.boi.go.th อเี มล: build@boi.go.th, sourcing@boi.go.th
“จากความสาเร็จในการเช่ือมโยงอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วน อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า และเคร่ืองจักรกล และ การมองเห็นถึงศักยภาพของผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยที่มีความต่ืนตัว ที่จะพัฒนาตัวเองไปสู่อุตสาหกรรมเหล่านั้น กองพัฒนาและ เช่ือมโยงการลงทุนจึงได้เพิ่มขอบข่ายภารกิจ โดยขยายให้ ครอบคลุมถึงกลุ่มอุตสาหกรรม เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบาย ประเทศที่ได้กาหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ที่มีศักยภาพ (New S-Curve)”
กํารส่งเสริมกํารลงทุนไทย ในต่ํางประเทศ
                                     จากกิจกรรมตลอดทั้งปี 2561 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า
2,300
สนับสนุนและส่งเสริมผู้ประกอบกํารไทยก้ําวสู่ กํารลงทุนในต่ํางประเทศ สานักงานได้ดาเนินมาตรการและกิจกรรมสนับสนุน การลงทุนไทยในต่างประเทศมาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือตอบสนอง นโยบายของรัฐบาลที่กาหนดให้การส่งเสริมการลงทุนไทย ในต่างประเทศเป็นหนึ่งในแผนงานสาคัญของยุทธศาสาตร์ พัฒนาประเทศ โดยส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการไทย ออกไปลงทุนในต่างประเทศ ให้ความรู้และอานวยความสะดวก ด้านกฎระเบียบ ส่งเสริมและสนับสนุนการเช่ือมโยงห่วงโซ่ มูลค่าในกลุ่มสาขาการผลิตและบริการ ท่ีผู้ประกอบการไทย มีศักยภาพและมีความพร้อมในการขยายธุรกิจไปสู่ประเทศ เป้าหมายของไทย รวมทั้งการเตรียมความพร้อมให้กับ ผู้ประกอบการไทยในการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ ทั้งน้ีจาก ข้อมูลของ UNCTAD ในปี 2551-2560 สถานภาพการออกไป ลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของไทยเมื่อเปรียบเทียบกับ ประเทศในกลุ่มอาเซียนแล้ว พบว่าไทยมีมูลค่าการออกไปลงทุน โดยตรงในต่างประเทศ (Outward FDI) สูงเป็นอันดับ 3 ของ อาเซยี น ดว้ ยมลู คา่ การลงทนุ รวม 81,926.42 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ซ่ึงมูลค่าการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของไทยในปี 2560 เพิ่มข้ึนถึง 9.53 เท่าจากปี 2551 ชี้ให้เห็นว่าไทยมีบทบาท ในการออกไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบ้านในแถบอาเซียน
ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงมูลค่ากว่า
72
ราย ล้านบาท
                               กิจกรรมสัมมนากระตุ้นการพัฒนาขีดความสามารถ 6 คร้ัง กิจกรรมจัดนาผู้ผลิตช้ินส่วน 10 คร้ัง กิจกรรมตลาดกลางซื้อขายช้ินส่วน 8 คร้ัง กิจกรรมผู้ซ้ือพบผู้ขาย 8 ครั้ง
งานแสดงสินค้าสาหรับ
อุตสาหกรรมรับช่วงการผลิตไทย Subcon Thailand 1 คร้ัง
66
รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

















































































   66   67   68   69   70