Page 67 - รายงานประจำปี 2561
P. 67

 • หน่วยงานพันธมิตรในประเทศ เช่น กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมต่างๆ เช่น สมาคม ส่งเสริมการรับช่วงการผลิตไทย (Thai Subcon) สมาคม อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย สมาคมเครื่องจักรกลไทย สถาบันต่างๆ เช่น สถาบันยานยนต์ไทย สถาบันไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ สถาบันไทยเยอรมัน เป็นต้น
• หน่วยงานพันธมิตรในต่างประเทศ เช่น กรณีของ ประเทศญี่ปุ่น ก็ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ในทุกภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็นกรุงโตเกียว นครโอซากา และ เมืองนาโกยา เป็นต้น รวมถึงสถาบันการเงินต่างๆ เช่น Japan Finance Corporation (JFC) และ The Shoko Chukin Bank เป็นต้น ซึ่งมีการนาคณะนักลงทุนญี่ปุ่นมาศึกษาลู่ทาง การลงทุนและร่วมกิจกรรมจับคู่เจรจาธุรกิจในประเทศไทย จานวนมากในแต่ละปี
การดาเนินกิจกรรมเช่ือมโยงอุตสาหกรรมในรูปแบบต่างๆ ของ หน่วยพัฒนาการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมในระยะเวลากว่า 26 ปี ที่ผ่านมา ได้ช่วยก่อให้เกิดมูลค่าการซื้อขายช้ินส่วนอุตสาหกรรม จากผผู้ ลติ ในประเทศไทยเพม่ิ มากขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ ชว่ ยกระตนุ้ ให้เกิดการลงทุนภายในประเทศของผู้ประกอบการไทยมากขึ้น ทั้งการขยายกิจการของผู้ประกอบการรายเดิมและการลงทุน ของผปู้ระกอบการรายใหม่แตด่ว้ยสถานการณท์เ่ีปลยี่นแปลงไป ในปัจจุบัน ผู้ประกอบการไทยจึงต้องเสริมศักยภาพและ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ดังนั้นการวิจัย และพัฒนาจึงจัดเป็นเรื่องที่สาคัญมากที่จะทาให้ผู้ประกอบการ ไทยมเี ทคโนโลยกี ารผลติ ของตนและสามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นภมู ภิ าค
หรือเวทีโลก กองพัฒนาและเชื่อมโยงการลงทุนจึงได้เพิ่มภารกิจ ในการผลักดันให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างผู้ประกอบการไทย และสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานวิจัยต่างๆ เพ่ือให้เกิด การวิจัยและพัฒนาในผู้ประกอบการไทยเพ่ิมมากข้ึน จึงร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
• สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) รวมท้ังหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้ สวทช. ได้ให้ ความรว่ มมอื ในการจดั สมั มนาใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั ความรว่ มมอื ในการทาวิจัยและพัฒนากับภาคเอกชน
• สถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค เช่น จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งกองพัฒนา และเช่ือมโยงการลงทุนได้มีการจัดคณะผู้ประกอบการ ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับผลงานการวิจัยและพัฒนาของ มหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงและ ร่วมมือกันระหว่างภาคการผลิตและภาควิชาการ ซึ่งจะทาให้ สามารถนาผลงานการวิจัยและพัฒนามาใช้งานได้จริง
จากความสาเร็จในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วน อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องจักรกล และ การมองเห็นถึงศักยภาพของผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยที่มีความต่ืนตัว ท่ีจะพัฒนาตัวเองไปสู่อุตสาหกรรมเหล่าน้ัน กองพัฒนา และเชื่อมโยงการลงทุนจึงได้เพ่ิมขอบข่ายภารกิจ โดยขยาย ให้ครอบคลุมถึงกลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายประเทศท่ีได้กาหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของ ประเทศท่ีมีศักยภาพ (New S-Curve) ได้แก่
อุตสําหกรรมกํารแพทย์ครบวงจร
(Medical Hub)
อุตสําหกรรมยํานยนต์สมัยใหม่
อุตสําหกรรมกํารบินและโลจิสติกส์
อุตสําหกรรมหุ่นยนต์
(Robotics)
(Next - Generation Automotive)
(Aviation and Logistics)
อุตสําหกรรมดิจิทัล
(Digital)
Thailand Investment Year
รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
65















































































   65   66   67   68   69