Page 103 - รายงานประจำปี 2561
P. 103

 เมอื งอจั ฉรยิ ะ(SmartCity)และนคิ มหรอื เขต
อตุ สาหกรรมอจั ฉรยิ ะ(SmartIndustrialEstate)คอื อะไร เม่ือวันที่ 15 ตุลาคม 2560 นายกรัฐมนตรีได้มีคาส่ังแต่งตั้ง “คณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ” โดยมี พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน กรรมการ และสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และสานักงาน นโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร (สนข.) เปน็ เลขานกุ ารรว่ ม เป็นผู้กาหนดแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และพนื้ ทเ่ี ปา้ หมายสา หรบั การดา เนนิ โครงการนา รอ่ งการพฒั นา เมืองอัจฉริยะต้นแบบในพื้นท่ี 7 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ ภูเก็ต ขอนแก่น และ 3 จังหวัดใน EEC ได้แก่ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ก่อนขยายผลสู่จังหวัดอ่ืนๆ ทั่วประเทศ โดยจะมีการพัฒนาใน 7 ด้านสาคัญ ได้แก่ 1. Smart Economy 2. Smart Mobility 3. Smart People 4. Smart Governance 5. Smart Living 6. Smart Energy และ 7. Smart Environment
สิทธิและประโยชน์การส่งเสริมการลงทุนกิจการ นิคมหรือเขตอุตสาหกรรมอัจฉริยะ สานักงานได้เล็งเห็นความสาคัญของการยกระดับคุณภาพและ มาตรฐานนิคมหรืออุตสาหกรรมในประเทศไทยให้เป็นนิคมหรือ เขตอุตสาหกรรมอัจฉริยะ (Smart Industrial Estate) โดยจะต้อง มีการพัฒนา ติดตั้ง และให้บริการระบบอัจฉริยะเช่นเดียวกับ เมืองอัจฉริยะ สานักงานจึงได้เสนอมาตรการส่งเสริม การลงทุนกิจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะต่อคณะกรรมการส่งเสริม การลงทนุ และคณะกรรมการฯ ไดม้ มี ตใิ หก้ ารสง่ เสรมิ กจิ การพฒั นา เมืองอัจฉริยะ เมื่อวันท่ี 19 พฤศจิกายน 2561
สาหรับกิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมอัจฉริยะ สานักงาน ได้ประกาศประเภทกิจการใหม่ เป็นประเภท 7.9.3 กิจการ นิคมหรือเขตอุตสาหกรรมอัจฉริยะ ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ กลุ่ม A2 สาหรับนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมที่สามารถดาเนินการ ตามเง่ือนไขที่สานักงานกาหนด เช่น ต้องมีผู้มีสัญชาติไทย ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ต้องจัดให้มี บริการระบบอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ Smart Mobility, Smart People, Smart Living, Smart Economy, Smart Governance, Smart Energy และ Smart Environment ภายในพ้ืนที่ และ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการหรือหน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม การลงทุน เป็นต้น
ประสิทธิภาพการใชพลังงาน
Efficiency Energy Consumption
พลังงานทางเลือก
Alternative Green Energy
ความสามารถในการเขาถึงระบบขนสงมวลชน การเดินทางสะดวกปลอดภัย Accessibility, Convenience, Safety
ประสิทธิภาพการจัดการระบบโลจิสติกส
Efficiency Transportation and Logistics
การแบงปนและการใชยานพาหนะประหยัดพลังงาน
Sharing and Green Mobility
ประสิทธิภาพและความคลองตัวในการดําเนินธุรกิจ
Business Agility
เกิดความเชื่อมโยงและความรวมมือทางธุรกิจ
Business Connectivity
ประยุกตใชนวัตกรรมในการพัฒนาปรับเปล่ียนธุรกิจ
Business Innovation and Transformation
Smart City
ดูแลรักษาทรัพยากร
Resource Conservation
การจัดการมลพิษ
Pollution Management
การรักษาสมดุลจากการพัฒนาเมือง
Development Balancing
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและติดตามสภาวะแวดลอม
Environmental Management and Monitoring
ประชาชนมีสุขภาพดี
Healthy People
เมืองปลอดภัย
Public Safety
Smart Living
Smart People
Smart Energy
Smart Mobility
Smart Economy
Smart Governance
Smart Environment
เขาถึงบริการภาครัฐ
Government Services Accessibility
พลเมืองมีสวนรวม
Citizen Partcipation
โปรงใส ตรวจสอบได
Transparency
Thailand Investment Year
สิ่งอํานวยความสะดวกรอบตัว
Full of Intelligent Living Facilities
พลเมืองมีความรูและสามารถประยุกตใชเทคโนโลยี
Knowledgeable and Digital Citizen
สภาพแวดลอมท่ีสงเสริมความคิดสรางสรรคและ การเรียนรูที่ไมส้ินสุด
Creative and Life-Long Learning Environment
การอยูรวมกันดวยความหลากหลายทางสังคม
Inclusive Society
รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
101











































   101   102   103   104   105