Page 20 - BOI eJournal No 3 | Mar-Apr 2020
P. 20

           แต่กว่าจะมาเป็นซอฟต์แวร์ท่ีสามารถวิเคราะห์ดีเอ็นเอ และออกรายงานได้เช่นนี้ ก็ต้องผ่านกระบวนการ ที่ซับซ้อน คุณหมออานนท์เล่าว่า เร่ิมจากการให้ นักวิทยาศาสตร์หลายแขนง เช่น นักพันธุศาสตร์ แพทย์ นกั กายภาพบา บดั เภสชั กร มาใหข้ อ้ มลู กบั โปรแกรมเมอร์ เพ่ือวางแผนการเขียนซอฟต์แวร์ และหานักเขียนท่ีมา ช่วยทาให้รายงานน่าอ่าน มีเนื้อหาสาระ ทั้งด้านการดูแล สุขภาพ อาหารการกิน การออกกาลังกายที่เหมาะสม
“เรามีการคุยกับนักวิทยาศาสตร์หลายเชื้อชาติเพื่อ ทาอัลกอริทึมแปลผลออกมา ช่วงแรกคือการสะสมข้อมูล หาข้อมูลต่างๆ สัมภาษณ์ คุยกับคน จนกระทั่งเราได้ บีโอไอเราก็จ้างกราฟิกดีไซเนอร์ จ้างโปรแกรมเมอร์ เขา้ มาทา งาน รวมถงึ เรามผี รู้ ว่ มกอ่ ตง้ั ทเ่ี ปน็ โปรแกรมเมอร์ ด้วยอยู่แล้ว ช่วงแรกจึงเป็นเรื่องของวิทยาศาสตร์ หลังจากเราได้บีโอไอ เราก็เดินหน้าเรื่องการผลิต ออกมา ทาเป็นเน้ือหา ทาอัลกอริทึมออกมา จนได้เป็น ต้นแบบให้คนใกล้ตัวทดลองใช้กันก่อน แล้วประมาณ ช่วงปลายปีที่ผ่านมาเราถึงเริ่มขายจริง”
บีโอไอหนุนบริษัทเทคโนโลยี
คุณหมออานนท์บอกว่าจีเนียส เจเนติกส์ คือธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องระหว่างเทคโนโลยีสุขภาพและเทคโนโลยี Machine Learning และ Big Data ที่นามาใช้ เพื่อแปลผล โดยในอนาคตจะค่อยๆ ขยับไปถึง เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพ่ือพัฒนาเทคโนโลยี สุขภาพของบริษัทต่อไป
โดยในช่วงเริ่มต้นธุรกิจเทคโนโลยีของจีเนียส เจเนติกส์ ก็มองหาผู้ช่วยท่ีจะช่วยทาให้บริษัทเติบโตไปได้ คุณหมออานนท์กล่าวถึงเร่ืองน้ีว่า
“ผมทราบว่าเมืองไทยเรามีหน่วยงานท่ีให้การสนับสนุน เร่ืองการลงทุนและเทคโนโลยี พอดีเห็นสิทธิประโยชน์ ของบีโอไอทางด้านภาษี รวมถึงสิทธิเรื่องการลงทุน อื่นๆ สามารถช่วยเราในช่วงท่ีเราทาสตาร์ทอัพขึ้นมา คิดว่าน่าสนใจ เราจึงยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนกับ บีโอไอ และบีโอไอเป็นหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือสูง สิทธิประโยชน์ค่อนข้างดีมาก”
20 | BOI e-Journal
  



























































































   18   19   20   21   22