Page 21 - BOI eJournal No 3 | Mar-Apr 2020
P. 21

               “เราถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมทางด้าน การแพทย์ เนื่องจากเราใช้เทคโนโลยีในการทา โปรแกรมมิงบวกกับข้อมูลทางการแพทย์และข้อมูล
สิทธิประโยชน์ของบีโอไอ
              ทางด้านสุขภาพเข้ามาเกี่ยวข้องกัน ส่วนที่ลงทุน ในประเทศทาเฉพาะส่วนของการทาระบบโมเดลข้ึนมา เรามองว่าด้วยสิทธิประโยชน์ของบีโอไอเราก็คิดว่า ค่อนข้างเพียงพอแล้ว สาหรับการดาเนินงาน เราจึงไม่ไป เข้าแข่งขันเวทีสตาร์ทอัพต่างๆ”
การสรา้ งโปรแกรมในประเทศไทยคณุ หมออานนทม์ องวา่ แม้ค่าจ้างโปรแกรมเมอร์เก่งๆ จะค่อนข้างสูง แต่ก็ยัง ไม่สูงเท่ากับการจ้างโปรแกรมเมอร์จากต่างประเทศ ท่ีค่าจ้างสูงกว่าถึง3-4เท่าทาให้บริษัทลดค่าใช้จ่ายไปได้ พอสมควร อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีไทย ยังต้องการการสนับสนุนอีกมากทั้งจากภาครัฐและ ผู้ลงทุน และยังต้องการระบบนิเวศท่ีเอื้อให้เกิดการสร้าง เทคโนโลยีใหม่ หรือเลือกใช้เทคโนโลยีข้ันสูง หรือดีปเทค อีกมาก
คุณหมออานนท์มองย้อนเร่ืองราวท่ีผ่านมาของจีเนียส เจเนติกส์ แล้วสรุปว่า การจะเป็นผู้ประกอบการด้าน เทคโนโลยี ควรจะต้องหาพันธมิตรท่ีมีความสามารถ ด้านเทคโนโลยีเพื่อช่วยลดต้นทุน และพยายาม ทาให้องค์กรมีความกระชับ เลือกลงทุนในส่ิงที่จาเป็น ที่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับองค์กรได้มากที่สุด
เปา้ หมายอยากใหค้ นไทยไดต้ รวจทกุ คน
“ผมอยากให้เทคโนโลยีของเราแพร่หลาย คนไทย สามารถตรวจได้ทุกคน เข้าถึงได้ รวมถึงเรามีแผน จะสนับสนุนนักวิชาการ ในการคิดค้นงานวิจัยใหม่ๆ ให้นักวิจัยคนไทย เพราะว่าพอเราตรวจเราจะได้ข้อมูลมา
ทางด้านภาษี สามารถ ช่วยเราในช่วงที่เรา ทาสตาร์ทอัพขึ้นมา
เรากเ็ รมิ่ เตรยี มทจี่ ะคยุ กบั สวทช. จะเขา้ ไปสนบั สนนุ คนท่ี อยากรว่ มกนั วจิ ยั นกั วจิ ยั ของภาครฐั มหาวทิ ยาลยั แพทย์ ข้อมูลพวกน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสุขภาพของ คนไทยมากขึ้นในอนาคต” คุณหมออานนท์กล่าวถึง เป้าหมายที่วางไว้สาหรับจีเนียสส์ เจเนติก และบอกต่อว่า
แอปพลิเคชันของจีเนียส เจเนติกส์ คือการรวมมันสมอง ของทีมงานแพทย์และนักวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขา เพื่อให้คนไทยได้มีคุณหมออยู่ใกล้ตัวโดยดูจากข้อมูล ดีเอ็นเอ เปรียบเหมือนกับทุกคนที่ได้ตรวจ สามารถมี หมอประจาตัวคอยดูแลสุขภาพอยู่ใกล้ตัวตลอดเวลา “คนที่ได้ใช้บริการเป็นหม่ืนเป็นแสนหรืออาจจะเป็น ล้านคนในอนาคตก็ถือว่าดีกว่าเราต้องมีหมอหม่ืนคน แสนคน เพื่อไปดูแลสุขภาพ”
นอกจากนี้ บริษัทอยู่ระหว่างศึกษาโอกาสการจัดต้ัง ห้องปฏิบัติการตรวจดีเอ็นเอในประเทศไทยเพิ่มขึ้น โดยอาจจะดึงหุ้นส่วนที่สหรัฐอเมริกามาร่วมมือด้วยกัน เพื่อจะได้มาตรฐานเดียวกัน และหากทาได้ก็มีโอกาส ท่ีจะสร้างห้องปฏิบัติการท่ีเป็นฮับของภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ต่อไป
   BOI e-Journal | 21
  






















































































   19   20   21   22   23