Page 8 - BOI eJournal No 5 | Jul - Aug 2020
P. 8

                               ตัวอย่าง SMEs ที่ได้รับบีโอไอ
ที่ผ่านมามี SMEs ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ภายใต้มาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับ SMEs และประสบความสาเร็จ มีดังนี้
บริษัท ไทย ฮาเบล อินดัสเตรียล จากัด
ผู้ผลิตทีวีไทยในชื่อ Altron TV ซึ่ง สามารถก้าวข้ามขีดจากัดจากโรงงาน ผู้รับจ้างผลิตสินค้า (OEM) มาสู่แบรนด์ ทีวีไทย ท่ีมีการส่งออกไปต่างประเทศ
บริษัท ยูดริ้งค์ ไอไดรฟ์ จากัด
ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสนับสนุน ธุรกิจบริการส่งคนขับรถไปขับรถให้ เพื่อส่งลูกค้าถึงบ้านอย่างปลอดภัย
บริษัท โกลบอล บั๊กส์ เอเชีย จากัด
ผู้วิจัยและพัฒนาโปรตีนผงที่ได้จากแมลง เช่น จิ้งหรีด เพื่อเป็นวัตถุดิบให้กับ อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อาหาร และ อาหารเสริม เป็นต้น
บริษัท บุญ คอร์ปอเรช่ัน จากัด
ผู้วิจัยและพัฒนาสารเติมแต่งกล่ินรส เพื่อลดการนาเข้าจากต่างประเทศ รวมท้ังช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบ ทางการเกษตรของไทย
               8 | BOI e-Journal
  คุณสมบัติ SMEs ตามมาตรการของบีโอไอ
มาตรการส่งเสริมการลงทุนแก่ SMEs ของบีโอไอ ได้มี การปรับปรุงให้มีความเหมาะสมอย่างต่อเนื่องและ เอื้อต่อการลงทุนมากยิ่งขึ้น โดยล่าสุดได้มีการปรับปรุง คุณสมบัติของ SMEs ให้สอดคล้องกับนิยาม SMEs ของ สสว. ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ โดยมาตรการส่งเสริม การลงทุนสาหรับ SMEs ในปัจจุบันมีรายละเอียด ดังนี้
1 2
3 4
5
                              กาหนดให้ SMEs จะต้องอยู่ในประเภทกิจการ ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (ประเภท กิจการในกลุ่ม A) และประเภทกิจการบางส่วน ที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (ประเภท กิจการในกลุ่ม B1) ตามประกาศ กกท. ที่ 2/2557
กาหนดให้ SMEs ที่เข้าข่ายได้รับการส่งเสริมฯ จะต้องเป็นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย ถือหุ้น ไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน
       รายได้รวมของ SMEs ทั้งที่ได้รับการส่งเสริมฯ และไม่ได้รับการส่งเสริมฯ ต้องไม่เกิน 500 ล้านบาทต่อปี ในช่วง 3 ปีแรก
SMEs จะต้องมีเงินลงทุนในโครงการไม่น้อยกว่า 500,000 บาท โดยไม่รวมค่าที่ดินและ ทุนหมุนเวียน (จากปกติที่กาหนดไว้ที่ 1 ล้านบาท)
กาหนดให้มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนไม่เกิน 4 : 1 (จากปกติที่กาหนดไว้ท่ี 3 : 1)
   













































































   6   7   8   9   10