Page 13 - BOI e-journal No 4 May-Jun 19
P. 13

 “เราไปสารวจมาแถวสมุทรสงคราม ของเขาเกรดเอ อยู่ที่ประมาณ 2 กิโลกรัมขึ้นไป ถ้า ณ วันนี้กรุงเทพฯ หรือ สมุทรสงครามเขาซื้อ 7 บาท ในเง่ือนไขท่ีเป็นเกรดเอ และ สมมติว่า 5 บาท คือ เกรดบี เราจะไปตั้งราคา 4 บาท ถามว่าเกษตรกรจะมีความรู้สึกไหม เขาไม่สนใจหรอกว่า เกรดเอ บี ซี เขาฟังแค่ราคา เราจะไปต้ังบีของเราเป็นเอ ก็ไม่ได้ เพราะฉะน้ันเราต้องต้ังราคาท่ีไม่ต่าง เพ่ือให้เกษตรกร ไม่รู้สึกว่าปัตตานีซื้อต่างจากราคากรุงเทพฯ เยอะมาก และ สิ่งท่ีจะได้คือ การพัฒนาคุณภาพของมะพร้าวและเกษตรกร ในพ้ืนท่ีให้หันมาใส่ใจดูแลผลผลิต” การสื่อสารกับเกษตรกรถึงเงื่อนไข เกณฑ์ในการประเมิน วิธีการรับซื้อผลผลิต จึงเป็นส่ิงที่ต้องทาทั้งโดยตรงกับ ตัวเกษตรกรเองและผ่านล้งหรือคนกลางท่ีทาหน้าท่ีรวบรวม ผลผลิตในพ้ืนท่ีต่างๆ เพื่อใช้กลไกตลาดเร่งให้เกษตรกร พฒั นาคณุ ภาพผลผลติ ใหไ้ ดต้ ามเกณฑท์ กี่ า หนด อนั จะสง่ ผลดี ตอ่ ทงั้ โรงงานทจี่ ะไดว้ ตั ถดุ บิ ทมี่ คี ณุ ภาพและตวั เกษตรกรทจี่ ะ มรี ายไดเ้ พมิ่ จากการขายผลผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพตามเกณฑท์ วี่ างไว้ พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ ยังมีศักยภาพ ไม่ว่าจะเป็น ผลผลิตทางการเกษตร ท่ีหากมีตลาดรับซื้อท่ีชัดเจน ก็จะช่วยให้เกษตรกรในพื้นท่ี พัฒนาได้อีกมาก    BOI e-Journal | 13 


































































































   11   12   13   14   15