Page 12 - BOI e-journal No 4 May-Jun 19
P. 12

 ตามแผนงานท่ีวางไว้ในช่วงแรก มะพร้าวท่ีเข้ามาท่ีโรงงาน แห่งน้ีจะถูกแปรรูปเป็นน้ามะพร้าวและกะทิ เพ่ือป้อน ให้กับกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารในประเทศและส่งออกไปยัง ต่างประเทศ เช่น ประเทศในแถบเอเชีย และทวีปอ่ืนๆ โดย ในระยะต่อไปจะขยายไปสู่การผลิตน้ามันมะพร้าวสกัดเย็น และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องจากมะพร้าวอื่นๆ คุณณัฐศศิยกตัวอย่างการต่อยอดผลิตภัณฑ์ว่า “วันหน่ึง ถ้าเราแข็งแรง เราอาจจะรับซ้ือพืชผลในพื้นที่ ยกตัวอย่าง ทเุ รยี น เอามาทา เปน็ โคโคนทั มลิ คผ์ สมกลนิ่ ทเุ รยี น กจ็ ะชว่ ยให้ เรารับซื้อผลผลิตในพื้นที่เพ่ิมได้ด้วย” เธอเล่าแผนที่วางไว้ในอนาคตสาหรับธุรกิจทั้งปาล์มน้ามัน และมะพร้าวว่า จะเน้นการหาพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อ ต่อยอดผลผลิตที่มีอยู่ โดยบริษัทของเธอยังคงต้องเข้าไป ร่วมลงทุนเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับพันธมิตรที่จะเข้ามา ร่วมทาธุรกิจด้วย พัฒนาผลผลิตเกษตรด้วยกลไกตลาด หากมองผลท่ีเกิดข้ึนจากการสร้างธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตร ในพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี คุณณัฐศศิยกตัวเลขชุดหนึ่งขึ้นมา เป็นตัวอย่างคือ ยอดการรับซื้อปาล์มน้ามันว่า ในปี 2554 รับซ้ืออยู่ท่ีประมาณ 100 ล้านบาท ขณะท่ีตัวเลขการรับซื้อ เมื่อปี 2559 อยู่ท่ีประมาณ 1,000 ล้านบาท ทาให้เห็น จานวนเงินท่ีหมุนเวียนเพ่ิมขึ้นในพ้ืนที่จากการพัฒนาธุรกิจ อตุ สาหกรรมเกษตรของบรษิ ทั ปาลม์ พฒั นาชายแดนใต้ จา กดั กลไกการรบั ซอื้ ผลผลติ การเกษตรเขา้ สโู่ รงงานทง้ั ปาลม์ นา้ มนั และมะพร้าวของที่โรงงานมีสองทางคือ เกษตรกรรายย่อย สามารถนาผลผลิตเข้ามาขายตรงกับทางบริษัทได้ และ ขายผ่านล้ง (พ่อค้าคนกลาง) ท่ีช่วยรวบรวมผลผลิต ในพื้นท่ีต่างๆ และจากการสารวจของบริษัท หนองจิกพัฒนา จากัด พบว่า มะพร้าวในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ ส่วนใหญ่ยังเป็น เกรดซีหรือบี คือ มีน้าหนักต่อลูกไม่ถึง 1 กิโลกรัม การพัฒนา ผลผลิตให้เป็นเกรดเอ คือ น้าหนักต่อลูก 2 กิโลกรัม จงึ เปน็ อกี ภารกจิ ทคี่ ณุ ณฐั ศศติ อ้ งการทา ใหเ้ กดิ ขนึ้ เชน่ เดยี วกบั ที่เคยทาได้กับปาล์มน้ามันมาแล้ว 12 | BOI e-Journal 


































































































   10   11   12   13   14