Page 12 - BOI eJournal No 2 | Jan-Feb 2020
P. 12

     ในช่วงเวลาน้ันเองคุณศุกรีย์มีโอกาสเดินทางไปพบเพ่ือน ซ่ึงทาโรงงานไม้อัดและไม้แผ่นพาร์ติเคิลในประเทศ มาเลเซีย ทาให้เขาเร่ิมมองเห็นวิธีแก้ปัญหาที่มีอยู่ ข้อมูล ท่ีได้มา เช่น รายได้ของคนงานที่ทางานในโรงงานไม้อัด วันละ 9 - 10 ชั่วโมง อยู่ท่ีประมาณ 500 - 800 บาทต่อวัน การนาไม้มาทาเป็นไม้อัดเพิ่มมูลค่า ทาให้เกิดแนวคิดว่า ถ้านาธุรกิจนี้เข้ามาทาที่เบตง จะช่วยแก้ปัญหาท่ีมี โดยสามารถใช้พื้นที่ที่เคยปลูกยางพารามาปลูกไม้ เศรษฐกิจรองรับโรงงานที่จะเปิดข้ึน และเป็นการช่วย สร้างงานให้คนในพ้ืนท่ีได้อีกทางหน่ึง “ผมคิดว่ําถ้ําเอํามําที่เบตง ก็สร้ํางงํานให้คนที่น่ี สร้ํางเศรษฐกิจขึ้นมําได้ จุดเด่นของโรงงํานไม้อัด ถ้ําเทียบกับกํารทําโรงงํานไม้แผ่นพําร์ติเคิลที่ได้ไปดูคือ โรงงํานไม้อัดลงทุนต่ํากว่ํา” นอกจากนี้การทาแผ่นไม้พาร์ติเคิลยังต้องใช้ไม้ปริมาณ มากกว่า และคุณภาพของไม้อัดยังมีความทนทาน แข็งแรงมากกว่าแผ่นไม้พาร์ติเคิล และในด้านเทคนิค ระบบที่เก่ียวข้องกับการเรียงไม้ การจัดไม้ แต่งหน้าไม้อย่างไร จัดไม้อย่างไร เรื่องกาว ไม่ง่ายอย่างท่ีเราคิด การผลิต การทาไม้อัดสามารถทาไม้ที่มีความหนา ได้สูงสุดถึง 40 มิลลิเมตร ขณะท่ีไม้แผ่นพาร์ติเคิล ทาได้ประมาณ 10 มิลลิเมตร พ้ืนท่ีข้างโรงงานยางแท่งของครอบครัวถูกเลือกเป็น ท่ีตั้งโรงงํานไม้อัดแห่งแรกของอําเภอเบตง จังหวัด ยะลํา ปัจจุบันโรงงานของ เอ เอ ลัมเบอร์ เน้นการผลิต ไม้อัดเพื่อใช้สาหรับทาไม้แบบก่อสร้าง ไม้สาหรับ ปูพื้นตู้คอนเทนเนอร์ และไม้อัดสาหรับการทาแพ็กเกจจิง ซ่ึงต้องการความทนทานแข็งแรง และมีแผนจะผลิตไม้อัด สาหรับทาเฟอร์นิเจอร์ในอนาคต คุณศุกรีย์เล่าว่า โรงงานไม้อัดสามารถใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ ได้หลากหลายชนิด โดยจะมีคุณสมบัติต่างกันไป เช่น ไม้ยางพาราซ่ึงมีอยู่มากในพื้นท่ีภาคใต้แต่ยังไม่เหมาะกับ การนามาทาเป็นไม้อัดสาหรับทาเฟอร์นิเจอร์ เพราะ มีการสูญเสียมาก ไปจนถึงไม้ยูคาลิปตัสที่สามารถ นามาทาไม้อัดเฟอร์นิเจอร์ได้สวยงามมากกว่า 12 | BOI e-Journal 


































































































   10   11   12   13   14