Page 23 - BOI eJournal ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 ม.ค.-ก.พ. 2562
P. 23

  สามารถทาผลงานได้ดีในปีที่ผ่านมา และมีความสามารถ ในการแข่งขันได้ในระดับโลก
กลุ่มต่อไปคือ อุตสําหกรรมก่อสร้ําง โดยเป็นไปตามแนวโน้ม การลงทุนก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ ที่กระจาย อยู่ท่ัวประเทศ
อีกอุตสาหกรรมของไทยที่ได้รับการยอมรับในระดับโลก และมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่องคือ อุตสําหกรรม อําหําร ซึ่งประเทศไทยมีวัตถุดิบที่มีคุณภาพอยู่จานวนมาก และภาคอุตสาหกรรมก็มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนสามารถสร้างนวัตกรรมทางด้านอาหารขึ้นมาเป็นจุดแข็ง ของอุตสาหกรรมนี้ได้
เหล่านี้คือ กลุ่มอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีศักยภาพ และ เป็นกลุ่มที่มีความสามารถในการแข่งขันในระดับโลกและ มีแนวโน้มที่จะสามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้อย่างต่อเน่ือง
ความท้าทายของอุตสาหกรรมไทย
คุณสุพันธุ์ให้ความเห็นว่า ภาพรวมของอุตสาหกรรมไทย ยังมีปัญหาเรื่องการวิจัยและพัฒนา ซึ่งส่งผลต่อเนื่องไปถึง การสร้างนวัตกรรมต่างๆ โดยการวิจัยและพัฒนาเป็นสิ่งที่ ทั้งภาครัฐและเอกชนต้องลงทุนเพิ่มอีกมาก เพราะเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศอ่ืนๆ เรายังลงทุนในเรื่องนี้ไม่ถึง 1% ของจีดีพี ยังมีโอกาสที่จะพัฒนาในเร่ืองนี้ได้อีกมาก
ท่ีผ่านมาสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยร่วมมือกับ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยให้เข้ามาช่วยพัฒนา เร่ืองงานวิจัยและนวัตกรรมให้กับภาคอุตสาหกรรม แต่ก็ ยังไม่เพียงพอ
“ต้องยอมรับว่า เราทาได้แต่อุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดยอ่ ม ใหเ้ ขาแขง่ ขนั ได้ แตอ่ ตุ สาหกรรมหลกั ใหญๆ่ ผมวา่ รัฐต้องอยู่เบื้องหลังพอสมควรในเรื่องของเทคโนโลยีใหม่ๆ คาว่าอุตสาหกรรมใหญ่ ผมไม่ได้หมายความถึงบริษัทใหญ่ แต่หมายถึงตัวผลิตภัณฑ์ที่มีการครอบครองตลาดมากๆ ในขณะทบี่ รษิ ทั ใหญๆ่ ลว้ นมงี บทางดา้ นวจิ ยั และพฒั นาอยแู่ ลว้ ”
อีกภาพหน่ึงที่เห็นชัดเจนคือ การนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ในกระบวนการผลิต เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต เช่น การใช้หุ่นยนต์ หรือการนาระบบอัตโนมัติ เข้ามาใช้ในการผลิตสินค้า ซ่ึงกาลังขยายตัวไปตาม อุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ประธานสภาอุตสาหกรรม กล่าวเก่ียวกับเร่ืองนี้ว่า เทคโนโลยีหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และระบบฐานข้อมูล คือ 3 เทคโนโลยีที่จะนามาใช้ ในกระบวนการผลิต และเรื่องนี้จะส่งผลต่อแรงงานไร้ฝีมือ ในภาคอตุ สาหกรรมทตี่ อ้ งเตรยี มปรบั ตวั รบั มอื ดว้ ยการพฒั นา ทักษะเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงท่ีกาลังจะเกิดขึ้นอย่าง แน่นอน
BOI e-Journal | 23

























































































   21   22   23   24   25