Page 23 - BOI eJournal ปีที่ 01 ฉบับที่ 07 พ.ย. - ธ.ค. 61
P. 23

    กรรมการผู้จัดการบริษัท บายน ซีเอ็ม ออร์กาไนเซอร์ จากัด มองว่าการเข้าไปเริ่มต้นธุรกิจในช่วงที่ตลาดกาลังเร่ิมต้น เป็นโอกาสที่บริษัทจะสามารถเติบโตไปพร้อมกับตลาด ได้ด้วยการนาบุคลากรผู้มีประสบการณ์ทางด้านนี้ รวมถึง อุปกรณ์เคร่ืองไม้เครื่องมือต่างๆ ในประเทศไทยเข้าไปใช้ ในประเทศกัมพูชาได้ พร้อมกันน้ันก็ทาให้มีเวลาเช่ือมโยง ฝึกอบรมบุคลากรท้องถิ่นให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในงาน ที่เก่ียวข้อง รวมถึงการแบ่งปันความรู้ให้กับซัพพลายเออร์ ช่วยยกระดับมาตรฐานการทางาน เป็นการเตรียมบริษัท ให้พร้อมสาหรับการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ในประเทศ กัมพูชา “ขอ้ ไดเ้ ปรยี บของเรากค็ อื เราพฒั นาคนในพน้ื ทขี่ องเราขนึ้ มา หาความร่วมมือได้ง่ายขึ้น ลดค่าใช้จ่ายลง นี่คือสิ่งท่ีเรา ลงทุนมา 10 กว่าปีแล้ว” นี่คือเรื่องราวของบริษัท บายน ซีเอ็ม ออร์กาไนเซอร์ จากัด บริษัทท่ีจดทะเบียนในกัมพูชา ซึ่งเป็นการร่วมลงทุนระหว่าง บริษัท เวิร์คแมนชิพ เซ็ท แอนด์ ดีไซน์ จากัด ที่แยกตัวมาจาก บริษัท ซีเอ็มโอ จากัด (มหาชน) กับบายนทีวีผู้ผลิตรายการ โทรทศั นใ์ นกมั พชู า เพอื่ ประกอบธรุ กจิ การสรา้ งสรรคก์ ารจดั งาน และการทาพิพิธภัณฑ์หรือศูนย์เรียนรู้ในประเทศกัมพูชา ในช่วงแรกนั้นผลงานที่สร้างช่ือเสียงให้กับบริษัทคือ การจัดแสดงแสงสีเสียงที่นครวัด โดยเป็นการพัฒนา โครงการร่วมกับหุ้นส่วนในประเทศกัมพูชา พร้อมกันน้ัน ก็รับงานจัดทาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่เสียมราฐทางด้าน การตกแต่งและการทาเน้ือหาของพิพิธภัณฑ์ไปพร้อมกัน ปัจจุบันบริษัทมีลูกค้าเป็นกลุ่มธุรกิจไทยที่เข้าไปลงทุน ในกมั พชู าประมาณ 80% อกี 20% เปน็ ธรุ กจิ จากตา่ งประเทศ ที่เข้าไปลงทุนในกัมพูชา โดยมีงานท้ังการสร้างสรรค์ การจัดงานและการจัดทาพิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การเรียนรู้ ซึ่งเป็นงานที่บริษัท เวิร์คแมนชิพ เซ็ท แอนด์ ดีไซน์ จากัด ทาอยู่ในประเทศไทยเช่นเดียวกัน BOI e-Journal | 23 


































































































   21   22   23   24   25