Page 57 - รายงานประจำปี 2561
P. 57

กํารชักจูงกํารลงทุนจําก
ต่ํางประเทศ
การลงทุนคือความเสี่ยง จึงไม่ใช่เร่ืองง่ายที่นักลงทุนต่างชาติ จะนาเม็ดเงินออกไปลงทุนในต่างประเทศ ปัจจัยผลักดัน ที่ทาให้นักลงทุนตัดสินใจเข้ามาลงทุนมาจากความเช่ือม่ันท่ีมีต่อ ประเทศไทย การสร้างความเช่ือม่ันให้แก่นักลงทุนท้ังไทยและ ต่างชาติจึงมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงในการดึงดูดการลงทุน จากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย
ยทุ ธศาสตรช์ กั จงู การลงทนุ รายประเทศ ซง่ึ จดั ทา ขน้ึ จากการศกึ ษา และวิเคราะห์ข้อมูลแวดล้อมการตัดสินใจลงทุนของนักลงทุน และประเทศเป้าหมาย รวมทั้งแผนงานชักจูงการลงทุนจาก ต่างประเทศจึงมีความสาคัญในการทางานเชิงรุก อาทิ กิจกรรม การชักจูงการลงทุนจากต่างประเทศ โดยมีความร่วมมือกับ หน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนเป็นส่วนประกอบ สาคัญ ทาให้การดาเนินการชักจูงการลงทุนจากต่างประเทศ มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน
กํารสํารวจควํามเชื่อม่ันของนักลงทุน ต่ํางประเทศในไทย
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้จัดทาโครงการ จ้างศึกษาและวิเคราะห์ความเช่ือมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ในประเทศไทยเป็นประจาทุกปี เพ่ือสารวจความคิดเห็น ของนักลงทุนต่างชาติที่มีต่อนโยบายและบริการของภาครัฐ ความเชื่อมั่นต่อปัจจัยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศไทยและอุปสรรคในการดาเนินธุรกิจ เป็นต้น
ในปี 2561 สา นกั งานไดว้ า่ จา้ งบรษิ ทั โบลลเิ กอร์ แอนด์ คอมพานี (ประเทศไทย) จากัด เป็นผู้ดาเนินโครงการ โดยสรุปประเด็น สาคัญได้ดังนี้
จากสถิติของธนาคารแห่งประเทศไทย ในช่วงปี 2551 ถึง 2560 มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย มีการเติบโตท่ีเป็นบวก โดยมีอัตราการเติบโตเฉล่ียสะสม (Compound Annual Growth Rate: CAGR) ในระยะยาว ร้อยละ 7.78 อย่างไรก็ดีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ในประเทศไทยมีความผันผวนค่อนข้างมาก กล่าวคือ มีการ ปรับตัวเพิ่มข้ึนและลดลงสลับกันไปในช่วงปี 2551 ถึง 2553
จากนั้นจึงเติบโตแบบก้าวกระโดดในช่วงปี 2554 ถึง 2556 ก่อนที่จะกลับมาปรับตัวลดลงอีกครั้ง จนถึงปี 2558 และทรงตัว อยู่ในระดับดังกล่าวมาจนถึงปี 2560
เมื่อพิจารณามูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (Net FDI) ในช่วงปี 2551 ถึง 2560 โดยจาแนกตามอุตสาหกรรม พบว่าการลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในสาขา (1) กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย (2) กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (3)การผลิตคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ทาง ทัศนศาสตร์ (4) การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์ (5) การผลิตเคมีภัณฑ์ ตามลาดับ
ปัจจัยที่คาดว่าจะส่งผลกระทบด้านบวกต่อการลงทุนใน ประเทศไทย ได้แก่ การส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมที่มี ศักยภาพสูง และการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
ปัจจัยที่คาดว่าจะส่งผลกระทบด้านลบต่อการลงทุน ในประเทศไทย ได้แก่ ปัจจัยความเสี่ยงจากเศรษฐกิจของ ประเทศคู่ค้าคู่ลงทุนหลัก ความโดดเด่นของประเทศเพื่อนบ้าน ทม่ี ากขนึ้ และการแขง็ คา่ ของคา่ เงนิ บาทตอ่ คา่ เงนิ ดอลลารส์ หรฐั
Thailand Investment Year
  รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
55




















































































   55   56   57   58   59