Page 36 - รายงานประจำปี 2561
P. 36

 ยุทธศาสตร์การลงทุน นโยบายสาคัญ
การประเมินผลนโยบายส่งเสริมการลงทุน ประจาปี 2561
การลงทุนเทียบกับการไม่มีการส่งเสริมการลงทุน จะทาให้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ที่แท้จริงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.31 การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริงเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.03 การส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริงเพ่ิมขึ้นร้อยละ 4.29 การนาเข้าสินค้าและบริการท่ีแท้จริงเพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.48 และจานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.46 ทั้งนี้หากพิจารณา GDP ที่คานวณจากราคาประจาปี (Nominal GDP) พบว่า การส่งเสริมการลงทุนส่งผลทาให้ GDP เพิ่มขึ้น 418,548 ล้านบาท เมื่อเทียบกับกรณีไม่มีการส่งเสริมการลงทุน
ค่าจ้างเฉล่ีย
บริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนมีการจ่ายค่าจ้างสูงกว่า ค่าจ้างเฉลี่ยแรงงานไทย และมีแนวโน้มการจ่ายค่าจ้างเพิ่มขึ้น โดยค่าจ้างเฉลี่ยต่อคนของบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมในปี 2559 เท่ากับ 298,060 บาทต่อคนต่อปี เพิ่มขึ้นจากปี 2558 เป็นมูลค่า 18,634 บาทต่อคนต่อปี
มูลค่าการส่งออก
มลู คา่ การสง่ ออกของบรษิ ทั ทไี่ ดร้ บั การสง่ เสรมิ การลงทนุ มสี ดั สว่ น รอ้ ยละ 84 ของการสง่ ออกของประเทศและมแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ โดย บริษัทในกลุ่มท่ีมีสัดส่วนการส่งออกสูง ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เน่ืองจากผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็น บริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
สัดส่วนการใช้วัตถุดิบในประเทศ
สัดส่วนการใช้วัตถุดิบในประเทศของบริษัทท่ีได้รับการส่งเสริม การลงทุนในปี 2559 เท่ากับร้อยละ 62.21 โดยภาคเกษตร และเกษตรแปรรูปมีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบในประเทศสูงสุด คือ ร้อยละ 86.40 รองลงมาเป็นภาคบริการและสาธารณูปโภค มีสัดส่วนร้อยละ 66.44 และภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 57.26 ซ่ึง แสดงให้เห็นถึงการสร้างมูลค่าเพ่ิมจากทรัพยากรที่มีในประเทศ โดยบริษัทท่ีได้รับการส่งเสริมการลงทุน แทนการนาเข้าวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนจากต่างประเทศ
                                                 ด้วยมาตรา 11/1 ของ พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560 ระบุว่าให้มีการประเมินผลการส่งเสริม การลงทุนที่แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศได้รับ รวมท้ังความคุ้มค่าของการส่งเสริมการลงทุน อย่างน้อยทุกสองปี โดยให้บุคคลภายนอกเป็นผู้ดาเนินการ ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกาหนด
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจึงได้มีการประชุมเมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม 2561 กาหนดหลักเกณฑ์การประเมินผล การส่งเสริมการลงทุนตามท่ีสานักงานเสนอ โดยหลักเกณฑ์ ดังกล่าวประกอบด้วยตัวชี้วัด 2 ส่วน ได้แก่ ตัวช้ีวัดท่ีแสดง ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และความคุ้มค่าของ การสง่ เสริมการลงทนุ ตาม พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การลงทนุ และตวั ชวี้ ดั ตามนโยบายการส่งเสริมการลงทุนภายใต้ยุทธศาสตร์ส่งเสริม การลงทุนระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) โดยสานักงาน ได้นาเสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน แล้ว เม่ือวันที่ 19 พฤศจิกายน 2561
ผลการประเมนิ ตวั ชว้ี ดั ทแ่ี สดง ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ สงั คม และ ความคมุ้ คา่ ของการสง่ เสรมิ การลงทนุ ตามพ.ร.บ.สง่ เสรมิ การลงทนุ
จากการประเมินผลของการส่งเสริมการลงทุนต่อเศรษฐกิจและ สังคมด้วยแบบจาลองทางเศรษฐศาสตร์พบว่า การส่งเสริม การลงทุนมีส่วนสาคัญในการเพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ ประเทศและส่งผลเชิงบวกต่อสังคม โดยหากมีการส่งเสริม
34
รายงานประจาปี 2561 | สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน




















































































   34   35   36   37   38