Page 14 - BOI eJournal No 3 | Mar-Apr 2020
P. 14

 01
• ยกเวน CIT
• ยกเวน PIT/VAT
• หักรายจายเพื่อการลงทุนในเครื่องจักร มาตรการสําหรับบริษัทที่ชวยเหลือ SMEs • ยกเวน CIT
• หักรายจายเพ่ือสงเสริม SMEs
04
การตลาด
รวมมาตรการสําหรับ SMEs
  สิทธิประโยชน (ดานภาษี)
มาตรการสนับสนุน SMEs ในปจจุบัน
แรงงาน/องคความรู
มาตรการสําหรับ SMEs
• การจัดสัมมนาและฝกอบรม เพื่อพัฒนาความสามารถของ SMEs ใหความรูในการบริหารงานสินเชื่อ เพ่ือการฟนฟูกิจการ
• หักรายจาย/ยกเวน CIT การพัฒนาบุคลากร
05
                  การเงินและสินเชื่อ
 02
การผลิต
• สินเชื่อเพื่อการบริโภคและการลงทุน ภายในประเทศ
• สินเช่ือเพื่อการฟนฟูกิจการ
• สินเชื่อเพื่อเปนเงินทุนหมุนเวียน/
เสริมสภาพคลอง
• การระดมทุนผานเครื่องมือในตลาดทุน
• สนับสนุน/ใหเงินสนับสนุนแก SMEs เขารวมงานแสดงสินคาทั้งในและตางประเทศ
• สนับสนุนให SMEs เขาถึงการจัดซ้ือจัดจางภาครัฐ • ขยายธุรกิจไปตางประเทศ/กิจกรรมจับคูธุรกิจ
                 03 •
• เงินกูท่ีมีอัตราดอกเบ้ียที่ผอนปรน
06
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ศูนยการใหบริการตางๆ เชน
• ศูนยใหบริการ SME ครบวงจร (SME OSS)
• ศูนยสนับสนุนและชวยเหลือเอสเอ็มอี (SSRC)
• ศูนยบริการใหคําปรึกษาและพัฒนาธุรกิจ
รองรับเศรษฐกิจยุคใหม (MOC BSC)
สูตลาดสากล/ยกระดับมาตรฐานสินคา
• ยกเวน CIT 50% ของการลงทุน เพ่ือปรับปรุง
CIT
PIT
VAT คือ ภาษีมูลคาเพ่ิม
กระบวนการผลิตเปนเวลา 3 ป เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต เปนตน
คือ คือ
ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา
การอํานวยความสะดวก
       มาตรการส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจ ฐานราก
มําตรกํารสง่ เสรมิ กํารลงทนุ เศรษฐกจิ ฐํานรํากเปน็ มาตรการ ส่งเสริมการลงทุนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ
• ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพเข้าไปสนับสนุน กิจการขององค์กรท้องถิ่น
• ยกระดับการดาเนินการขององค์กรท้องถิ่น เช่น การนา เทคโนโลยีหรือเคร่ืองจักรที่ทันสมัยมาใช้ในการผลิตหรือ บรกิ ารการฝกึ อบรมเพอื่ ยกระดบั เทคโนโลยหี รอื มาตรฐาน การผลิต เป็นต้น
ซ่ึงหากผู้ประกอบการเข้าไปสนับสนุนองค์กรท้องถิ่น เช่น วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ องค์กรส่วนท้องถิ่น เป็นต้น ตามแผนการดาเนินการที่บีโอไอเห็นชอบในด้าน
• กิจกํารเกษตรและเกษตรแปรรูป • กิจกํารกลุ่มอุตสําหกรรมเบํา
• กิจกํารท่องเที่ยวชุมชน
อย่างไรก็ตาม เพื่อให้มาตรการเศรษฐกิจฐานรากนี้ ครอบคลุมถึงการบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบ
องค์รวม บีโอไอจึงขยายขอบข่ายให้ผู้ประกอบการรายใหญ่ เข้าไปให้ความช่วยเหลือองค์กรท้องถิ่นในการแก้ปัญหา ภัยแล้ง และน้าท่วมได้อีกด้วย เช่น ช่วยเหลือด้านการ ขุดบ่อเพ่ือกักเก็บน้า การขุดเจาะ ซ่อมแซม และบารุงรักษา ล้างบ่อน้าบาดาล การเชื่อมต่อแหล่งน้าจากพ้ืนท่ีใกล้เคียง มายังพื้นที่ท่ีประสบปัญหาภัยแล้ง การพัฒนาหรือ การนาเทคโนโลยีเพื่อนาน้าท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ อีกคร้ัง (Recycle) เป็นต้น
ดังนั้นบีโอไอจึงเพิ่มเติมให้ผู้ประกอบการรายใหญ่สามารถ เข้าไปสนับสนุนการบริหารจัดการน้าแบบองค์รวมแก่ องค์กรท้องถ่ินได้ด้วยทั้งกรณี
• กํารแก้ปัญหําภัยแล้ง • กํารแก้ปัญหําน้ําท่วม
โดยผู้ประกอบการรายใหญ่ที่เข้าไปให้การสนับสนุน จะได้รับ สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ ดาเนินการอยู่เดิมเป็นระยะเวลา 3 ปี ในสัดส่วนร้อยละ 120 ของเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนองค์กร ท้องถ่ิน หรือได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 120% ของเงินที่ให้การสนับสนุน (แล้วแต่กรณี)
14 | BOI e-Journal











































   12   13   14   15   16