Page 20 - BOI eJournal No 2 | Jan-Feb 2020
P. 20

  “ยกตัวอย่ํางนครศรีธรรมรําช มีพ้ืนที่เพําะปลูก 1.4 ล้ํานไร่ 2% ก็อยู่ที่ประมําณ 30,000 ไร่ ใน 1 ไร่ จะได้เช้ือเพลิงประมําณ 30 ตัน ดังนั้นท่ีนครศรีธรรมรําช จะมีเชื้อเพลิงประมําณ 900,000 ตัน โรงไฟฟ้ําชีวมวล ขนําด 10 เมกะวัตต์ ใช้เชื้อเพลิง 100,000 ตันต่อปี เรํามองเร่ืองควํามเพียงพอของเชื้อเพลิงก่อน” อีกจุดเด่นของการทาโรงไฟฟ้าในภาคใต้คือ ระบบ ส่งไฟฟ้าตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปคือ มีขนาด 33 กิโลวัตต์ ทาให้โรงไฟฟ้ากาลังผลิตขนาด 10 เมกะวัตต์เท่ากัน สามารถขายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบได้มากกว่าระบบส่งไฟฟ้า ที่อยู่เหนือจังหวัดชุมพรขึ้นมา ซ่ึงมีระบบส่ง 22 กิโลวัตต์ “ตั้งแต่ชุมพรลงไป เรําผลิต 10 เรําจะขํายได้ 9 แต่ระบบ ท่ีเหนือชุมพรข้ึนไปจะเป็นระบบส่ง 22 kV เขํารับได้ เต็มท่ีคือ 8 แต่เวลําเรําลงทุน 10 ดังน้ันทํางใต้จะขํายได้ เพิ่มอีก 1 เมกะวัตต์ ในเงินลงทุนท่ีเท่ํากัน” กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีพีซี เพาเวอร์ โฮลดิ้ง จากัด (มหาชน) เล่าถึงแผนงาน 3 ปีของบริษัทว่า วางเป้าหมายจะเพ่ิมกาลังผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า ท่ีบริษัทไปลงทุนอีก 1 เท่า จากที่มีอยู่ในปัจจุบัน คือ ให้มีกาลังการผลิตรวม 250 เมกะวัตต์ โดยอาศัย นโยบายของภาครัฐที่ออกมาแล้วสนับสนุน ท้ังนโยบาย การเพิ่มโควตาโรงไฟฟ้าขยะชุมชน จาก 400 เป็น 900 เมกะวัตต์ และการผลักดันโรงไฟฟ้าชุมชนของ กระทรวงพลังงาน ซึ่งจะมาช่วยบริษัทขับเคลื่อน ให้ถึงเป้าหมายนี้ได้ ตามแผนงานทวี่ างไวจ้ ะกระจายโรงไฟฟา้ ไปในพน้ื ทตี่ า่ งๆ ทั่วประเทศ แต่ยังไม่สามารถระบุได้ว่าจะเป็นพื้นที่ใด ทั้งนี้โรงไฟฟ้าชุมชนนั้นมีปัจจัยท่ีต้องเข้าไปดูคือ ผลิตผล ทางการเกษตรในพ้ืนท่ี ซึ่งเม่ือโรงไฟฟ้าเข้าไปแล้ว ต้องสามารถสร้างรายได้เพียงพอหรือมากกว่าของเดิม ท่ีทากันอยู่ 20 | BOI e-Journal  


































































































   18   19   20   21   22